แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2560
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ แปลงสาธิตการผลิตผักปลอดภัย ปี 2560
ลักษณะโครงการ การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ดร.ทวีศักดิ์ วิยะชัย คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : พืชสวน
ประสบการณ์ : การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ การขยายพันธุ์พืช การผลิตเห็ด การผลิตต้นอ่อนงอก
ความเชี่ยวชาญ : การปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน
หัวหน้าโครงการ
รศ.ดร.กาญจนา รุ่งรัชกานนท์ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
ประสบการณ์ : การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้
ความเชี่ยวชาญ : การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช กล้วยไม้ เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวดอกไม้
ผู้ร่วมโครงการ
ผศ.ดร.บุญส่ง เอกพงษ์ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : พืชสวน
ประสบการณ์ : การผลิตผัก
ความเชี่ยวชาญ : การผลิตผัก
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.ภาคภูมิ สืบนุการณ์ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พืชสวน)
ประสบการณ์ : การออกแบบภูมิทัศน์ การจัดการสนามหญ้า
ความเชี่ยวชาญ : การออกแบบภูมิทัศน์ การขุดล้อมต้นไม้และ พันธุ์ไม้ในงานภูมิทัศน์
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.สุกัญญา คลังสินศิริกุล คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : กีฎวิทยา
ประสบการณ์ : การควบคุมแมลงผัก และศัตรูข้าว การควบคุมแมลงศัตรูพืชโโดยชีววิธี
ความเชี่ยวชาญ : การควบคุมแมลงศัตรูพืช การควบคุมแมลงศัตรูพืชโโดยชีววิธี
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.นิมมานรดี พรหมทอง คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : Ph.D. in Horticulture
ประสบการณ์ : การปรับปรุงพันธุ์ส้ม
ความเชี่ยวชาญ : การปรับปรุงพันธุ์ไม้ผล สรีรวิทยาไม้ผล การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชสวน
ผู้ร่วมโครงการ
ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : Plant Pathology
ประสบการณ์ : "-อารย์สอนวิชา โรคพืชวิทยาเบื้องต้นและวิชาการผลิตเห็ด ในคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี - เป็นผู้อำนวยการศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 10 ปี"
ความเชี่ยวชาญ : - การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี - การเพาะเห็ดในถุงพลาสติก"
ผู้ร่วมโครงการ
นายรักเกียรติ แสนประเสริฐ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : พืชศาสตร์(ไม้ผล)
ประสบการณ์ : ระบบน้ำเพื่อการเกษตร
ความเชี่ยวชาญ : ขยายพันธุ์พืช การผลิตไม้ผล
ผู้ร่วมโครงการ
นางนวลวรรณ แสนประเสริฐ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : บริหารธุรกิจ
ประสบการณ์ : 15 ปี
ความเชี่ยวชาญ : พัสดุ
เหรัญญิก
นางสาวสมศรี ภูติยา คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
เลขานุการ

หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันสินค้าเกษตรหลายชนิดมีปัญหาสารพิษตกค้างเกินกว่ามาตรฐานที่กำหนด ส่งผลเสียอย่างมากทั้งต่อสุขภาพของเกษตรกรซึ่งเป็นผู้ผลิตและผู้บริโภค ซึ่งต้องบริโภคอาหารที่ปนเปื้อนสารเคมีเป็นประจำ นอกจากนั้นกระบวนการผลิตที่ไม่เหมาะสมยังส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทำให้เกิดมลภาวะตามมา ซึ่งในระยะยาวจะทำให้ความมั่นคงทางอาหารลดลง ประชาชนทั่วไปก็มีความตระหนักถึงปัญหานี้และมีความต้องการบริโภคสินค้าเกษตรที่มึความปลอดภัยได้มาตรฐาน แต่ปริมาณการผลิตก็ยังไม่เพียงพอและยังขาดแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย ซึ่งจะต้องมีการใช้ความรู้หลายแขนงมาผสมผสานกันทั้งการปรับปรุงดิน การเลือกใช้พันธุ์ต้านทาน การเขตกรรม การป้องกันและกำจัดศัตรูพืช การเก็บเกี่ยว การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว ฯลฯ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นต้องพัฒนาแหล่งเรียนรู้การเกษตรที่สามารถผลิตอาหารปลอดภัย เพื่อเป็นตัวอย่างให้แก่เกษตรกรได้นำไปขยายผล เพื่อให้เกษตรกรได้มาเรียนรู้เทคโนโลยีที่เกิดจากการบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยซึ่งได้สั่งสมองค์ความรู้มาเป็นเวลานาน รวมถึงเป็นแหล่งผลิตอาหารปลอดภัยให้แก่บุคลากรและประชาชนในพื้นที่โดยรอบมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

วัตถุประสงค์
1.เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรแบบปลอดภัย
2.ผลิตอาหารปลอดภัยแก่บุคลากรมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีและชุมชนใกล้เคียง

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ประชาชนในจังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ บุคลากรมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
100 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1.การวางแผนการดำเนินงาน 2.จัดเตรียมพื้นที่ 3.ประชาสัมพันธ์ 4.ดำเนินการผลิต 5.สรุปผลการดำเนินงาน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2559
2560
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.วางแผนการดำเนินงาน -- -- --- --- 0.00
2.จัดเตรียมพื้นที่ -- - --- --- 10,000.00
3.ประชาสัมพันธ์ --- - - --- 5,000.00
4.ดำเนินการผลิต -- - --- 130,000.00
5.สรุปผลการดำเนินงาน --- --- --- - 5,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2559 - 30 กันยายน พ.ศ. 2560 รวมเวลา 304 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -ถ่ายทอดความรู้เชิงปฏิบัติให้แก่เกษตรกเพื่อประกอบอาชีพ
ด้านสังคม : -เพิ่มความยั่งยืนในการประกอบอาชีพ
ด้านสิ่งแวดล้อม : -ลดการปนเปื้อนของสารเคมีจากกิจกรรมทางการเกษตร
ด้านอื่นๆ : -รักษาสุขภาพของเกษตรกรและผู้บริโภค

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
100
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิทยาการเมล็ดพันธุ์และการผลิตผักพื้นบ้าน
หลักสูตร หลักสูตร เกษตรศาสตร์ 2560
นักศึกษาชั้นปี : 3-4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน มีนักศึกษาได้รับรู้มากกว่าร้อยละ 80
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 32,000.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 18,000.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 18,000.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
18,000.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 14,000.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 14,000.00 บาท )
1) จำนวน 35 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
14,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 50,300.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 960.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 960.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 2 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
960.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 3,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 100 คน
=
3,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 43,200.00 บาท )
1) จำนวน 1 คน x จำนวน 6 เดือน x เดือนละ 7,200.00 บาท
=
43,200.00 บาท

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 3,140.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสาร
=
3,140.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 67,700.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 200.00 บาท )
1) สมุดบันทึก
2 x 100 บาท
=
200 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 2,000.00 บาท )
1) ป้าย
2 x 1,000 บาท
=
2,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 1,200.00 บาท )
1) วัสดุเชื้อเพลิง
40 x 30 บาท
=
1,200 บาท

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 64,300.00 บาท )
1) วัสดุการเกษตร
=
50,000.00 บาท
2) วัสดุไฟฟ้า
=
3,000.00 บาท
3) วัสดุก่อสร้าง
=
10,000.00 บาท
4) วัสดุงานบ้านงานครัว
=
1,300.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 150,000.00 บาท