แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการแปลผล การแก้ไขความผิดพลาด ของตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีในเลือด
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แก่ชุมชน / สังคม / กลุ่มวิชาชีพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ผศ.ดร.ภาวนา พนมเขต คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : จุลชีววิทยา
ประสบการณ์ : ผู้ร่วมโครงการคัดกรองโรคธาลัสซีเมี ปี 2553 และ 2554 ผู้ร่มโครงการตรวจวัดระดับความเครียดนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2554
ความเชี่ยวชาญ : จุลชีววิทยา เมลิออย์โดสิส
หัวหน้าโครงการ
ผศ.ดร.สุรศักดิ์ แว่นรัมย์ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : ชีวเวชศาสตร์
ประสบการณ์ : หัวหน้าโครงการบริการวิชาการคัดกรองโรคธาลัสซีเมีย ปี 2553 และ 2554 ผู้ร่วมโครงการประชุมวิชาการวิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ครั้งที่ 2, 3, 4 หัวหน้าโครงการบริการวิชาการตระหนักรู้และใส่ใจ เยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลโรคมะเร็งตับและท่อน้ำดี ปี 2558 และ ปี 2559
ความเชี่ยวชาญ : ชีวเวชศาสตร์: โรคติดเชื้อและโรคมะเร็ง
ผู้ร่วมโครงการ
นายปรีดา ปราการกมานันท์ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : ชีวเวชศาสตร์ (biomedical sciences)
ประสบการณ์ : การตรวจทางห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์
ความเชี่ยวชาญ : Biosensor technology Cervical cancer
ผู้ร่วมโครงการ
นายวัชรพงษ์ แสงนิล คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเกษตรและพัฒนาชนบท
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
ปัญหาการตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีในเลือด ส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องของการทดสอบสารควบคุมภายในและภายนอกไม่ได้ค่าที่อยู่ในช่วงที่ยอมรับได้ ทำให้การออกผลการตรวจวิเคราะห์ไม่สามารถทำได้ จะต้องแก้ปัญหาดังกล่าวให้สำเร็จจึงจะออกค่าการทดสอบให้กับแพทย์ได้ ดังนั้นปัญหาจะเกิดจากการขาดความรู้ความชำนาญในการดูกราฟผลของตัวควบคุม ซึ่งบางลักษณะสามาถแก้ไขได้ง่ายๆถ้าสามารถแปลหรืออ่านกราฟดังกล่าวได้ แต่ปัจจุบันความรู้การดูลักษณะกราฟดังกล่าวยังไม่สามารถทำได้ในผู้ที่ทำการตรวจวิเคราะห์ทุกคน ดังนั้นการอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งนี้จะเป็นการทดลองปฏิบัติการฝึกดูกราฟ การแก้ปัญหาเบื้องต้นเมื่อค่าควบคุมภายในและภายนอกออกจากช่วงที่ยอมรับได้ เพื่อให้ผลการตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีในเลือดมีความน่าเชื้อถือ และช่วยให้การวินิจฉัยมีความแม่นยำ

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการอ่านกราฟค่าควบคุมในการตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีในเลือด
2.ฝึกปฏิบัติบุคลากรทางการแพทย์ที่ในการแก้ปัญหาเบื้อต้นในกรณีที่ค่าควบคุมไม่อยู่ในช่วงที่ยอมรับได้

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
นักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก แพทย์ และนักเทคนิคการแพทย์ในเขตจังหวัด อุบลราชธานี ศรีสะเกษ อำนาจเจริญ และยโยสร
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
50 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. ประชาสัมพันธ์ 2. มีข้อสอบประเมินความรู้ผู้เข้าร่วมอบรม 3. จัดอบรมความรู้ 4. ให้ผู้อบรมได้ฝึกทักษะการตรวจวินิจฉัยเชื้อโรค ระยะต่างๆจากสิ่งส่งตรวจ 5. ให้ทำแบบทดสอบเมื่อสิ้นสุดการอบรมเชิงปฏิบัติการ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2560
2561
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.เตรียมงาน เรื่องสถานที่ วิทยกร เตรียมสิ่งส่งตรวจเพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้ฝึกปฏิบัติ - --- --- 25,000.00
2.จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ --- -- --- --- 75,000.00
3.ประเมินผลการปฏิบัติงาน --- --- - --- 5,000.00
4.ทำรายงานสรุปและส่งรูปเล่ม --- --- -- --- 5,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2561 - 29 มีนาคม พ.ศ. 2561 รวมเวลา 1 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
08.00-12.00 ความรู้เกี่ยวกับการตรวจวิเคราะห์สารเคมีในเลือด รศ.ดร.พัชรี เจียนัยกลุ
24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
13-16.30 ฝึกปฏิบัติการการอ่านกราฟค่าควบคุมลักษณะต่างๆและการแปลผลเพื่อแก้ปัญหาค่าควบคุมไม่อยู้ในช่วงที่ยอมรับไ รศ.ดร.พัชรี ผศ.ดร.ธาริณี ผศ.ดร.ภาวนา ผศ.ดร.สุรศักดิ์ ดร.จิตติยวดี ดร.อนุวัติ ดร.ปรีดา ดร.รสสริน

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : ให้นักศึกษาแพทย์ แพทย์ และบุคลลากรทางด้านสาธารณสุข ใีความรู้ มีความมั่นใจในการตรวจวินิจฉัยเชื้อปรสิต
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
30
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถอ่านกราฟค่าควบคุมการตรวจวิเคราะห์หาสารเคมีในเลือดได้อย่างถูกต้องแม่นยำ

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิทยาศาสตร์การแพทย์1
หลักสูตร แพทย์ศาสตร์
นักศึกษาชั้นปี : 2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน การตรวจวิเคราะหืหาสารเคมีในเลือด
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 24,260.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 12,900.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 8,400.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
8,400.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 4,500.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 300.00 บาท x จำนวน 5 คน
=
4,500.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 11,360.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 8,000.00 บาท )
1) จำนวน 10 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
8,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 3,360.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
3,360.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 57,750.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 6,450.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 5,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 ครั้ง x จำนวน 1 คน x ครั้งละ 2,500.00 บาท
=
5,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 1,450.00 บาท )
1) จำนวน 1 คืน x จำนวน 1 ห้อง x ห้องละ 1,450.00 บาท
=
1,450.00 บาท
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 5,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
5,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 2,500.00 บาท )
1) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
2,500.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 1,800.00 บาท )
- จำนวน 1 คัน x จำนวน 1 วัน x ราคา 1,800 บาท/คัน/วัน
=
1,800.00 บาท

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 42,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาวิเคราะห์ข้อมูลและบันทึก
=
5,000.00 บาท
2) ค่าเตรียมสิ่งส่งตรวจ อุปกรณ์น้ำยา สำหรับฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
=
30,000.00 บาท
3) รับรองอาหารวิทยากร
=
2,000.00 บาท
4) ค่าจ้างเหมาแรงงานจัดนิทรรศกาล
=
5,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 17,990.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 9,490.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
9,490 x 1 บาท
=
9,490 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 1,500.00 บาท )
1) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์
5 x 300 บาท
=
1,500 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 1,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง
1 x 1,000 บาท
=
1,000 บาท

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 6,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุฝึกทางห้องปฏิบัติการ
=
5,000.00 บาท
2) ของที่ระลึก
=
1,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 100,000.00 บาท