แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ สัปดาห์นวัตกรรมและการออกแบบ (INOVATION AND DESIG WEEK)
ลักษณะโครงการ การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แก่ชุมชน / สังคม / กลุ่มวิชาชีพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางสาวปิยะนันท์ กรินรักษ์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : ศิลปประยุกต์มหาบัณฑิต (M.AA) สาขาการออกแบบผลิตภัณฑ์(PRODUCT DESIGN)
ประสบการณ์ : ประสบการณ์และความชำนาญการ ผลงานอื่นๆเช่น นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ กรรมการต่างๆ - การศึกษาวิจัยในระดับปริญญาโทในหัวข้อ “การออกแบบและพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์สุราแช่และสุรากลั่นห้างหุ้นส่วนจำกัดหกพันนา เพื่อส่งเสริมการขาย” - เขียนบทความตีพิมพ์ลงใน หนังสือวิกฤติศิลปะพื้นบ้านอีสาน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต ในหัวข้อ “ติดปีกให้หีบห่อ” - วิทยากรโครงการอบรมการพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์ กลุ่ม OTOP จังหวัด อุบลราชธานี ยโสธร อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ มุกดาหาร - ร่วมโครงการพัฒนาบุคลากรด้านผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ DBD Design Business Development Project 2007 ส่วนการพัฒนาขีดความสามารถอุตสาหกรรม สำนักพัฒนาหน่วยบริการอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (2-9 พฤษภาคม 2550) - นักออกแบบ โครงการพัฒนาบรรจุภัณฑ์สินค้าชุมชน ปี 2550 Packaging Development 2007 สำนักพัฒนาผลิตภัณฑ์และเพิ่มมูลค่าสินค้า กรมส่งเสริมการส่งออก (ช่วงดำเนินการ เดือนกรกฎาคม-กันยายน 2550) - นักออกแบบอิสระ ออกแบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ กราฟิกดีไซน์ -ร่วมโครงการโครงการ “การสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์ด้วยความคิดสร้างสรรค์ปี 2555” TCDC - ร่วมงานแสดงงานเปิดเส้นทางธุรกิจ...พิชิตตลาดสร้างสรรค์ (Business Check-up Festival) เทศกาลสร้างโอกาสและขยายเครือข่ายทางธุรกิจวันเสาร์ที่ 7 กรกฎาคม 2555 ณ ห้องนิทรรศการ 2 ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC)ชั้น 6 ดิ เอ็มโพเรียม ช็อปปิ้ง คอมเพล็กซ์ - โครงการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ OTOP สู่ร้านค้า OTOP Store โดย ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (ปี2556) - ออกแบบโลโก้และบรรจุภัณฑ์กระเทียมโทนดองน้ำผึ้ง,แสดงนิทรรศการOTOP PLUS อีสาน ,เดอะมอล์งามวงศ์วาน ,15-19 ส.ค.2557 - ออกแบบกระเป๋าและโลโก้ Kn กระเป๋าหนัง, แสดงนิทรรศการOTOP PLUS อีสาน ,เดอะมอล์งามวงศ์วาน, 15-19 ส.ค.2557 - ออกบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์น้ำผึ้งจากดอกลำไย , แสดงนิทรรศการOTOP PLUS อีสาน ,เดอะมอล์งามวงศวาน ,15-19 ส.ค.2557 - ออกแบบโลโก้และบรรจุภัณฑ์ น้ำพริกบ้านหนองแฝก จังหวัดยโสธร , แสดงนิทรรศการOTOP PLUS อีสาน ,เดอะมอล์งามวงศ์วาน ,15-19 ส.ค.2557 - ออกแบบผลิตภัณฑ์ป้ายมงคล บ้านคำสร้างบ่อ จังหวัดอำนาจเจริญ , แสดงนิทรรศการOTOP PLUS อีสาน ,เดอะมอล์งามวงศ์วาน ,15-19 ส.ค.2557 - ออกบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ผ้า บ้านบึงแก จังหวัดยโสธร , แสดงนิทรรศการOTOP PLUS อีสาน ,เดอะมอล์งามวงศ์วาน , 15-19 ส.ค.2557 - ออกแบบโคมฟากเส้นใยย้อมสีธรรมชาติ จัดแสดงผลงานเทศกาลนวัตศิลป์นานาชาติ 2559 หรือ IICF 2016 ณ ไบเทคบางนา กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 10-13 มีนาคม 2559 - โครงการเพื่อดำเนินงานพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์โดยใช้ทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ภายใต้โครงการการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมโดยใช้ทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญา (The Cultural Heritage Based Development Project) ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 7 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ปีงบประมาณ 2559 1. ออกแบบผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติลายมะยางเครือ วิสาหกิจชุมชนทอผ้าบ้านดงมะยาง จังหวัดอำนาจเจริญ 2. ออกแบบผ้าฝ้าย ย้อมสีธรรมชาติยกดอกลายดอกแก้วเสมา กลุ่มทอผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติ ม.1 จังหวัดอำนาจเจริญ 3. ออกแบบโคมไฟ กลุ่มผ้าฝ้ายลายขิดทอมือ ย้อมสีธรรมชาติ จังหวัดยโสธร - โครงการปรับแผนธุรกิจและเพิ่มขีดความสามารถ SMEs โดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ปีงบประมาณ 2559 เป็นที่ปรึกษาเชิงลึก 1. ร้าน จันทร์เพ็ญ เฟอร์นิเจอร์ ตำบลน้ำปลีก อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ พัฒนาผลิตภัณฑ์จากเศษไม้ 2. ร้าน พงษ์เทพ เฟอร์นิเจอร์ ตำบลน้ำปลีก อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ พัฒนาผลิตภัณฑ์จากเศษไม้ 3. ร้าน พีดี ดีไซน์ แอนด์ ปริ้นติ้ง อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ ให้ความรู้ด้านการใช้โปรแกรมเพื่อการออกแบบ - โครงการออกแบบบรรจุภัณฑ์ SMEs - โครงการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์และผู้ประกอบการ OTOP (เชิงปฏิบัติการ) ด้านผลิตภัณฑ์อาหารเครือข่ายภาคภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ระยะที่ 3 และ4 โครงการอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โดย สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2559 1. ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ขนมข้าวกล้องงอก ตราร่องมาลี กลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวกล้องงอกร่องมาลี ตำบลสระสมิง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
ความเชี่ยวชาญ : ออกแบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์
หัวหน้าโครงการ
นายชัยบพิธ พลศรี คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : ออกแบบผลิตภัณฑ์
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : ธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์และโฆษณา Character Graphic Designer
ผู้ร่วมโครงการ
นายกรกิฎ เหล่าสกุล คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
นายกฤษดา รัตนางกูร คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวขนิษฐา ขันคำ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : Ceramics
ประสบการณ์ : เครื่องเคลือบดินเผา
ความเชี่ยวชาญ : เครืองเคลือบดินเผา
ผู้ร่วมโครงการ
ผศ.ดร.กัญญา จึงวิมุติพันธ์ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.ติ๊ก แสนบุญ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวศิริพร ฉัตรสุวรรณ์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : -
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
นายชูเกียรติ พิทักษ์พรพัลลภ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : ออกแบบนิเทศศิลป์
ประสบการณ์ : ออกแบบกราฟิก
ความเชี่ยวชาญ : ออกแบบกราฟิก
ผู้ร่วมโครงการ
ผศ.ดร.สิทธิชัย สมานชาติ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : Design
ประสบการณ์ : 1. โครงการ สำรวจหลักฐานผ้าและเครื่องแต่งกายโบราณของชาวอีสานจากฮูปแต้มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เพื่อเป็นฐานข้อมูลการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา (ทำนุ ปี 2552) 2. โครงการสำรวจผ้าซิ่นหมี่หัวจกดาว เอกลักษณ์เมืองอุบล เพื่อสืบสานและเป็นฐานข้อมูลในการจัดการเรียนการสอนฯ (ทำนุ ปี 2552) 3. โครงการสำรวจและศึกษาภูมิปัญญาด้านสิ่งทอในเขตลุ่มน้ำโขง ของชาวภูไท จังหวัดมุกดาหาร ประเทศไทย และชาวภูไท-มะกอง แขวงสะหวันเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ทำนุ ปี 2553) 4. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ออกแบบลายผ้ามัดหมี่ด้วยกราฟ เพิ่มทักษะสำหรับกลุ่มผ้าทอจังหวัดอุบลราชธานี (บริการวิชาการ 2559) 5. โครงการสำรวจและจัดทำเวปไซต์ ข้อมูลหลักฐานลวดลายผ้าโบราณเมืองอุบลฯ จากผู้ถือครองมรดกคลังสะสมผ้าของ หม่อมเจ้าหญิงบุญจิราธร จุฑาธุช เพื่อบูรณาการกับการเรียนการสอน (ทำนุฯ 2559)
ความเชี่ยวชาญ : ประวัติศาสตร์สิ่งทออีสาน ออกแบบสิ่งทอร่วมสมัย การย้อมสีธรรมชาติ
ผู้ร่วมโครงการ
นายยง บุญอารีย์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : สถาปัตยกรรม
ประสบการณ์ : สถาปนิก พ.ศ.2549-2557 อาจารย์พิเศษ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อาจารย์ประจำ พ.ศ.2557
ความเชี่ยวชาญ : การออกแบบสถาปัตยกรรม
ผู้ร่วมโครงการ
นายจักรภพ เสาเวียง คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : -
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวลลิดา บุญมี คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : สถาปัตยกรรม
ประสบการณ์ : สถาปนิก พ.ศ.2550-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำ พ.ศ.2557
ความเชี่ยวชาญ : การออกแบบสถาปัตยกรรม
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาววดียา เนตรพระ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : สถาปัตยกรรมหลัก
ประสบการณ์ : การออกแบบทางด้านสถาปัตยกรรม
ความเชี่ยวชาญ : อนุรักษ์พลังงาน
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวสโรชา มังคลา คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : เคหะพัฒนาศาสตรมหาบัณฑิต
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวเทพิญ แก้ววรสูตร คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : ออกแบบผลิตภัณฑ์
ประสบการณ์ : นักออกแบบและวิทยากรด้านงานกราฟิกสิ่งพิมพ์ ออกแบบโลโก้ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ออกแบบผลิตภัณฑ์พื้นถิ่น ออกแบบลวดลายผ้าและเครื่องจักรสาน
ความเชี่ยวชาญ : ออกแบบกราฟิกด้านสิ่งพิมพ์
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวกิตติวรา จันทรรุกขา คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
เหรัญญิก
นางสาวอรวรรณ ประยงค์หอม คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา :
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
เลขานุการ

หลักการและเหตุผล
ในทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ประเทศไทยจะยังคงประสบสภาวะแวดล้อมและบริบทของการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ อาทิ กระแสการเปิดเศรษฐกิจเสรี ความท้าทายของเทคโนโลยีใหม่ๆ การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การเกิดภัยธรรมชาติที่รุนแรง ประกอบกับสภาวการณ์ด้านต่างๆ ทั้งเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศในปัจจุบันที่ยังคงประสบปัญหาในหลายด้าน เช่น ปัญหาศักยภาพการผลิตความสามารถในการแข่งขัน คุณภาพการศึกษา ความเหลื่อมล้ำทางสังคม ด้วยคณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้เปิดหลักสูตรการออกแบบอุตสาหกรรม และ หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาการศึกษาสู่สังคมและชุมชนรวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านวิชาการด้านศิลปะ การออกแบบ และ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ดังนั้นเพื่อสร้างบัณฑิตให้มีความพร้อมกับการเปลี่ยนในด้านต่าง ๆ ให้มีความสามารถที่มีศักยภาพ และมีความสามารถหลากหลายเพื่อให้มีความพร้อมในการแข่งขันเข้าสู่ตลาดแรงงาน หลักสูตรมีการพัฒนารายวิชาใหม่รวมถึงการปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงในมิติด้านการออกแบบอย่างยั่งยืน เพื่อมวลชน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับบริบทสังคมและวัฒนธรรมเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มด้านเศษฐกิจสร้างสรรค์ โดยอาศัยรากเหง้าทางวัฒนธรรมในการขับเคลื่อนพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพทั้งในด้านวิชาการ คุณธรรมจริยธรรม รวมถึงการให้บริการวิชาการองค์ความรู้ด้านนวัตกรรมและการออกแบบจาก งานศิลปะนิพนธ์ งานวิจัย งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และ งานสร้างสรรค์ แก่ภายนอก จัดให้มีความร่วมระหว่างคณาจารย์ นักศึกษา นักออกแบบ สถาปนิก ร่วมโครงการแสดงผลงานศิลปะ การออกแบบ และ สถาปัตยกรรมศาสตร์ จัดแสดงและจำหน่ายผลงานผลิตภัณฑ์ของนักศึกษา อาจารย์ และ ชุมชน ประกวดผลงานศิลปะและการออกแบบ นิทรรศการผลงานวิชาการองค์ความรู้จาก งานศิลปนิพนธ์ งานวิจัย งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และ งานสร้างสรรค์ ของคณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี นิทรรศการของหน่วยงานที่มีความร่วมมือทางวิชาการ ทำให้เกิดความร่วมมือทางวิชาการทั้งภาครัฐและเอกชน เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และถ่ายทอดองค์ความรู้แก่สาธารณชน

วัตถุประสงค์
1.เผยแพร่องค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมเพื่อพัฒนานวัตกรรมและการออกแบบ ผ่านงานศิลปนิพนธ์ งานวิจัย งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และ งานสร้างสรรค์ของนักศึกษา อาจารย์ คณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
2.มุ่งเน้นส่งเสริมเยาวชน นักศึกษา กลุ่มอาชีพ กลุ่มชุมชน ประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงคุณค่าศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อนำมาสานต่อในด้านนวัตกรรมและการออกแบบในวิถีสังคมใหม่อย่างยั่งยืน เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความร่วมมือทางวิชาการทั้งภาครัฐและเอกชน หรือหน่วยงานวิชาชีพ

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
นักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย์ ศิลปิน กลุ่มอาชีพ กลุ่มชุมชน ประชาชนทั่วไป
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
250 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1 นิทรรศการผลงานวิชาการเผยแพร่องค์ความรู้นวัตกรรมและการออกแบบจาก งานศิลปนิพนธ์ งานวิจัย งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และ งานสร้างสรรค์ของนักศึกษา อาจารย์ คณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2. ประกวดผลงานทางด้านศิลปะการออกแบบ และ สถาปัตยกรรมศาสตร์ 3. จัดแสดงและจำหน่ายผลงานผลิตภัณฑ์ของนักศึกษา อาจารย์ และ ชุมชน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2560
2561
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.1ประชุมวางแผนและจัดเตรียมงาน --- --- 50,000.00
2.2ประชาสัมพันธ์ --- - -- --- 110,000.00
3.3.จัดงานสัปดาห์นวัตกรรมและการออกแบบ (INOVATION AND DESIG WEEK) --- --- - --- 200,000.00
4.4.สรุปผลการดำเนินงาน --- --- --- 40,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560 - 30 กันยายน พ.ศ. 2561 รวมเวลา 365 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
10.00 - 12.00 น. - นิทรรศการผลงานวิชาการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านนวัตกรรมและการออกแบบ จาก งานศิลปนิพนธ์ งานวิจัย งานทำน อ.ปิยะนันท์ กรินรักษ์ อ.ขนิษฐาน ขันคำ ดร.ติ๊ก แสนบุญ อ.จักรภพ เสาเวียง อ.ชัยบพิธ พลศรี อ.เทพิญ
16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
13.00 - 17.00 น. - กิจกรรมประกวดงานออกแบบ อ.กรกิฏ เหล่าสกุล อ.ชูเกียรติ พิทักษ์พรภัลลพ อ.วดียา เนตรพระ อ.ขนิษฐาน ขันคำ อ.ปิยะนันท์ กรินรั
16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
17.00 – 18.00 น. -พิธีเปิดงานสัปดาห์วิชาการศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ -การแสดงแฟชั่นจากกลุ่มวิชาสิ่งทอและแฟชั่ ผศ.ดร.กัญญา จึงวิมุติพันธ์ อ.ศิริพร ฉัตรสุวรรณ อ.เทพิญ แก้ววรสูตร อ.กฤษดา รัตนางกูร อ.ชัยบพิธ พล
16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
18.00 – 20.30 น. - นำเสนอ นวัตกรรม และการออกแบบ - นิทรรศการผลงานวิชาการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านนวัตกรรมและการออกแบบ อ.เสกสันต์ ศรีสันต์ อ.จักรภพ เสาเวียง อ.ยง บุญอารี อ.ลลิดา บุญมี อ.สโรชา มังคลา อ.ปิยะนันท์ กร
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
18.00 – 20.30 น. - นำเสนอ นวัตกรรม และ การออกแบบ - นิทรรศการผลงานวิชาการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านนวัตกรรมและการออกแบบ อ.เสกสันต์ ศรีสันต์ อ.จักรภพ เสาเวียง อ.ยง บุญอารี อ.ลลิดา บุญมี อ.สโรชา มังคลา
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
17.00 – 18.00 น. -การแสดงแฟชั่นจากกลุ่มวิชาสิ่งทอและแฟชั่นคณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ -การแสดงแฟชั่นจากกลุ่ม ผศ.ดร.กัญญา จึงวิมุติพันธ์ อ.ศิริพร ฉัตรสุวรรณ อ.เทพิญ แก้ววรสูตร อ.กฤษดา รัตนางกูร อ.ชัยบพิธ พล
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
13.00 - 17.00 น. - กิจกรรมประกวดงานออกแบบ อ.กรกิฏ เหล่าสกุล อ.ชูเกียรติ พิทักษ์พรภัลลพ อ.วดียา เนตรพระ อ.ขนิษฐาน ขันคำ อ.ปิยะนันท์ กรินรั
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
10.00 - 12.00 น. - นิทรรศการผลงานวิชาการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านนวัตกรรมและการออกแบบ จาก งานศิลปนิพนธ์ งานวิจัย งานทำน ผศ.ดร.กัญญา จึงวิมุติพันธ์ ดร.ติ๊ก แสนบุญ อ.จักรภพ เสาเวียง อ.วดียา เนตรพระ อ.ลลิดา บุญมี อ.ยง
18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
10.00 - 12.00 น. - นิทรรศการผลงานวิชาการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านนวัตกรรมและการออกแบบ จาก งานศิลปนิพนธ์ งานวิจัย งานทำน ผศ.ดร.กัญญา จึงวิมุติพันธ์ ดร.ติ๊ก แสนบุญ อ.จักรภพ เสาเวียง อ.วดียา เนตรพระ อ.ลลิดา บุญมี อ.ยง
18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
13.00 – 17.00 น. - กิจกรรมประกวดงานออกแบบ อ.กรกิฏ เหล่าสกุล อ.ชูเกียรติ พิทักษ์พรภัลลพ อ.วดียา เนตรพระ อ.ขนิษฐาน ขันคำ อ.ปิยะนันท์ กรินรั
18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
17.00 – 18.00 น. -การแสดงแฟชั่นจากกลุ่มวิชาสิ่งทอและแฟชั่นคณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผศ.ดร.กัญญา จึงวิมุติพันธ์ อ.ศิริพร ฉัตรสุวรรณ อ.เทพิญ แก้ววรสูตร อ.กฤษดา รัตนางกูร อ.ชัยบพิธ พล
18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
18.00 – 20.30 น. - พิธีปิดสัปดาห์นวัตกรรมและการออกแบบ (INOVATION AND DESIG WEEK) - นิทรรศการผลงานวิชาการเผยแพร่องค์ค ผศ.ดร.กัญญา จึงวิมุติพันธ์อ.เสกสันต์ ศรีสันต์ อ.ยง บุญอารี อ.ลลิดา บุญมี อ.สโรชา มังคลา อ.ปิยะนั

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : 1.มีการนำองค์ความรู้ทางวัฒนธรรมและนวัตกรรมงานสร้างสรรค์ไปต่อยอดทางธุรกิจ และการนำไปใช้ในการเริ่มต้นในการเป็นผู้ปะกอบการใหม่
ด้านสังคม : 1.ได้เผยแพร่ผลงานวิชาการองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นถิ่นลุ่มน้ำโขงผ่านนวัตกรรมและการออกแบบ จากงานศิลปนิพนธ์ งานวิจัย งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และ งานสร้างสรรค์ของนักศึกษา อาจารย์ ผ่านงานนิทรรศการและการนำเสนอผลงาน 2. เยาวชน นักศึกษา กลุ่มอาชีพ กลุ่มชุมชน ประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงคุณค่า ด้านด้านนวัตกรรมและการออกแบบ เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความร่วมมือทางวิชาการทั้งภาครัฐและเอกชน หรือหน่วยงานวิชาชีพ 2.สร้างภูมิคุ้มกันทางวัฒนธรรมให้แก่เยาวชน ประชาชนทั่วไปให้ตระหนักถึงความสำคัญแห่งรากเหง้าทางวัฒนธรรมของตนเองและเข้าใจวัฒนธรรมอื่นๆที่อยู่ร่วมกัน รวมถึงเข้าใจเหตุปัจจัยแห่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีผลต่องานสร้างสรรค์และนำเสนอทางเลือกในงานออกแบบที่ยั่งยืนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตให้ประชาชน
ด้านสิ่งแวดล้อม : 1.มีผลงานด้านนวัตกรรมและการออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
250
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
90
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
70
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา ศิลปะนิพนธ์
หลักสูตร ศิลปประยุกตบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : 4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น / สามารถสอบผ่านในรายวิชา
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด นักศึกษาสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมายได้
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ นักศึกษาได้หัวศิลปนิพนธ์เพื่อการแก้ปัญหา

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 45,000.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 14,400.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 14,400.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
14,400.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 30,600.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 9,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
9,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 21,600.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
21,600.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 186,800.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 16,800.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 12,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 ครั้ง x จำนวน 6 คน x ครั้งละ 1,000.00 บาท
=
12,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 4,800.00 บาท )
1) จำนวน 2 คืน x จำนวน 2 ห้อง x ห้องละ 1,200.00 บาท
=
4,800.00 บาท
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 45,000.00 บาท )
1) จำนวน 6 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 300 คน
=
45,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 45,000.00 บาท )
1) จำนวน 3 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 300 คน
=
45,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 80,000.00 บาท )
1) ค่าขนย้าย
=
20,000.00 บาท
2) ค่าเช่าสถานที่
=
30,000.00 บาท
3) ค่าเครื่องเสียง วันละ 10,000 บาท จำนวน 3 วัน
=
30,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 212,800.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 20,000.00 บาท )
1) ค่าจัดทำป้ายไวนิว
20 x 1,000 บาท
=
20,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 192,800.00 บาท )
1) ค่าสูจิบัตร
=
70,000.00 บาท
2) - ค่าวัสดุประกอบการจัดทำนิทรรศการ
=
80,000.00 บาท
3) - ค่ารูปเล่มรายงานผลการดำเนินงาน
=
12,000.00 บาท
4) - ค่าเครื่องแต่งกายแฟชั่น (ประกอบนิทรรศการ)
=
20,000.00 บาท
5) - ค่าวัสดุสำนักงาน
=
10,800.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 444,600.00 บาท