แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ วิเคราะห์และปรับปรุงคุณภาพน้ำบาดาลเพื่อการอุปโภคบริโภค ชุมชนบ้านค้อ ต.เมืองศรีไค อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : พัฒนาระบบและกลไกการบริการวิชาการอย่างมีส่วนร่วมให้มีประสิทธิภาพ ตามนโยบาย/ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยและประเทศ
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่ออนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายรัชวุฒิ โคตรลาคำ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
ประสบการณ์ : - ผู้ควบคุมมลพิษสิ่งแวดล้อมด้าน น้ำ อากาศ และกากของเสียอันตรายที่ปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อมภาคโรงงานอุตสาหกรรม
ความเชี่ยวชาญ : ผู้ควบคุมด้านมลพิษสิ่งแวดล้อมและวิเคราะห์คุณภาพน้ำ
หัวหน้าโครงการ
ดร.ณฐพล ทองปลิว คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : Environmental Management
ประสบการณ์ : 1. Ubon Ratchathani University, Ubon Ratchathani, Thailand (October 2015 - Present) - Lecturer for Environmental Sanitation Program at the Department of Biological Sciences, the Faculty of Science 2. Thailand Environment Institute, Nonthaburi, Thailand (June 2007 - December 2013) - Researcher (Independent Research) from March 2010 - December 2013: responsible conducting research studies. - Researcher 3 (Senior Research Associate) from September 2009 - February 2010: responsible for managing and conducting research studies. - Researcher 2 (Research Associate) from June 2007 to September 2009: responsible for conducting research studies. 3. Department of Oil and Public Safety, State of Colorado, USA (January - July 2006) - Intern Analyst: responsible for working on In Situ Chemical Oxidation for soil and groundwater remediation. Finding the effective practices and enabling factors contributing to the success of In Situ Chemical Oxidation’s implementation
ความเชี่ยวชาญ : Sustainable Consumption and Production (SCP), Corporate Social Responsibility (CSR), Waste Management, Climate Change, Energy Policy, and Environmental Policy and Management
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.กติกา สระมณีอินทร์ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : Biomedical Engineering University of Strathclyde, Glasgow, UK
ประสบการณ์ : * Lecturer: Occupational Health and Safety, Faculty of Science, Ubon Ratchathani University * Special lecturer: Safety and Health at Work Promotion Association (Thailand) * Special lecturer: All is One Co.,Ltd Special Lecturer: Safety Science, Faculty of Science Technology, Bansomdejchaopraya Rajabhat University * Engineer: National Electronics and Computer Technology Centre * Safety Officer: Wongpin Co.,Ltd
ความเชี่ยวชาญ : Biomechanics, Human Factors, Gait and Motion Analysis, Health Promotion, Safety for Vulnerable Populations
ผู้ร่วมโครงการ
นางอรชพร วิลามาศ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
ประสบการณ์ : -ที่ปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อม (วิศวกร) -ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม -วิศวกรรมการประปา - การบำบัดน้ำเสีย - ระบบการจัดการพลังงาน - การจัดการของเสียอันตราย
ความเชี่ยวชาญ : -ที่ปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อม (วิศวกร) -ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม -วิศวกรรมการประปา - การบำบัดน้ำเสีย - ระบบการจัดการพลังงาน - การจัดการของเสียอันตราย
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวชิดหทัย เพชรช่วย คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : การจัดการสิ่งแวดล้อม
ประสบการณ์ : -สอนหลักสูตรวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม/สุขาภิบาบสิ่งแวดล้อม -ทำงานวิจัยด้านการประเมินการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกรผู้ปลูกพริก พื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี -ที่ปรึกษาชมรมอนามัยสิ่งแวดล้อมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ความเชี่ยวชาญ : -การจัดการสิ่งแวดล้อม -การประเมินความเสี่ยงสุขภาพ -ความปลอดภัยของอาหาร
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.ทัศนีย์ เจียรพสุอนันต์ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
ประสบการณ์ : การจัดการขยะชุมชน ป่าตึง จ.เชียงราย การจัดทำบัญชีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคเกษตรกรรมของประเทศไทย
ความเชี่ยวชาญ : การตรวจวัดก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมเกษตร การสะสมคาร์บอนในป่าไม้ การจัดการขยะชุมชน
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวสุพรรณิการ์ ซาเหลา คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม(มลพิษสิ่งแวดล้อม)
ประสบการณ์ : - นักวิชาการสิ่งแวดล้อมในการวิเคราะห์และประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
ความเชี่ยวชาญ : - การวิเคราะห์และประเมินผลกระทบด้านคุณภาพอากาศของโครงการพัฒนาต่างๆ และการวิจัยด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อการเปลี่ยนแปลงสารมลพิษทางอากาศ
เลขานุการ

หลักการและเหตุผล
น้ำเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญและจำเป็นต่อมนุษย์มากที่สุดอย่างหนึ่งในการดำรงชีวิต มนุษย์ใช้ประโยชน์จากน้ำ ทั้งทางด้านอุปโภคบริโภค การคมนาคมขนส่ง อุตสาหกรรม การเกษตร ผลิตพลังงาน รวมทั้งการพักผ่อนหย่อนใจ นอกจากนี้น้ำยังเป็นแหล่งกำเนิดของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์และสิ่งมีชีวิตทุกชนิด มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเป็นมหาวิทยาลัยที่มีโอกาสในการทำงานวิจัยด้านสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะสิ่งแวดล้อมทางน้ำ ซึ่งมีการบริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำซึ่งเป็นอีกหนึ่งภารกิจในการบริการวิชาการแก่ชุมชน ถือว่าเป็นโอกาสของมหาวิทยาลัยที่จะร่วมมือกับชุมชนในการดูแลสิ่งแวดล้อมไม่ว่าจะเป็นการให้ความเข้าใจด้านการติดตามดูแลและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม การจัดการคุณภาพน้ำในพื้นที่ในจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งจะเน้นในชุมชนเป้าหมายของมหาวิทยาลัยเป็นชุมชนต้นแบบในการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหามลภาวะทางน้ำ รวมทั้งการถ่ายทอดเทคโนโลยี ต่างๆ ภารกิจเหล่านี้ถือว่าเป็นภารกิจหนึ่งของมหาวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้จัดตั้งหน่วยวิเคราะห์คุณภาพน้ำขึ้น เป็นองค์กรในกำกับของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีที่มีการบริหารจัดการแบบอิสระจากระบบราชการและสามารถพึ่งตนเองได้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นงานบริการวิชาการของคณะฯ ซึ่งสามารถตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำตามดัชนีที่ชี้วัดคุณภาพน้ำต่าง ๆ เช่น การวิเคราะห์น้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน วิเคราะห์น้ำเสียก่อนบำบัดและน้ำทิ้งหลังบำบัดเพื่อออกแบบระบบบำบัดหรือติดตามระบบบำบัด โดยมีความพร้อมทางด้านอุปกรณ์ เครื่องมือ และบุคลากรที่มีประสบการณ์ในการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ พื้นที่บริการวิชาการของชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มีพื้นที่เป้าหมายในพื้นที่ 4 เขต อปท. และจากการประชุมเพื่อจัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชน ประจำปี 2560 ได้มีการสรุปการดำเนินงานในปีทีผ่านมาและร่วมจัดทำแผนการดำเนินงานในปีต่อไป ซึ่งมีชุมชนบ้านค้อ ต.เมืองศรีไค ได้นำเสนอปัญหาที่พบในชุมชน คือ น้ำใต้ดิน (บ่อตอก) ที่ชาวบ้านนำมาอุปโภคบริโภค พบว่ามีความขุ่นและตะกอนแดง ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพของชาวบ้าน คือ พบผู้ป่วยเป็นโรคนิ้วในอัตราที่สูง ดังนั้น จึงได้เสนอโครงการ ตรวจวิเคราะห์และปรับปรุงคุณภาพน้ำบาดาลเพื่อการอุปโภคบริโภค ขึ้นเพื่อวิเคราะห์และปรับปรุงคุณภาพน้ำบาดาล ในชุมชนบ้านค้อ ต.เมืองศรีไค อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานีและสามารถนำมาบูรณาการกับการเรียนการสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมต่อไปต่อไป

วัตถุประสงค์
1.เพื่อวิเคราะห์คุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้ในการอุปโภคบริโภคในชุมชน
2.เพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้ในการอุปโภคบริโภคในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ชุมชนบ้านค้อ ต.เมืองศรีไค อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
35 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
- ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำบาดาลในหมูบ้าน - ปรับปรุงคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้ในการอุปโภคบริโภค

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2560
2561
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ประสานงานกับชุมชนบ้านค้อ ต.เมืองศรีไค อ.วารินชำราบ -- --- --- --- 0.00
2.ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินโครงการกับทางชุมชนบ้านค้อ เพื่อสร้างความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการ - --- --- --- 13,075.00
3.เก็บตัวอย่างน้ำบาดาลมาทำการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ คณะวิทยาศาสตร์ - --- --- --- 15,900.00
4.แจ้งผลการตรวจวิเคราะห์น้ำบาดาลให้กับทางชุมชนบ้านค้อให้รับทราบและวางแผนหาแนวทางในการดำเนินโครงการ --- --- --- 2,075.00
5.จัดทำระบบในการปรับปรุงคุณภาพน้ำบาดาลที่ปนเปื้อนเหล็กโดยวิธีการเติมอากาศ --- --- --- 88,400.00
6.ติดตามผลและประเมินผลการดำเนินโครงการ --- --- --- 43,850.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 - 30 กันยายน พ.ศ. 2560 รวมเวลา 365 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : - ชุมชนสามารถจัดทำระบบการปรับปรุงคุณภาพน้ำบาดาลอย่างง่ายได้
ด้านสังคม : - เกิดการมีส่วนร่วมในการทำงานระหว่างมหาวิทยาลัยกับหน่วยงานภายภายนอก (ชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี)
ด้านสิ่งแวดล้อม : - ชุมชนมีน้ำเพื่อใช้ในการอุปโภค บริโภคที่ปลอดภัย ป้องกันการเกิดโรคที่เกิดจกน้ำเป็นสื่อได้
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
35
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
100
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
ชุมชนมีคุณภาพน้ำที่ดีในการอุปโภคบริโภค 163,300/35 เท่ากับ 4,665.71 บาท/คน (ชุมชน)

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิชาโครงงานพิเศษ
หลักสูตร สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
นักศึกษาชั้นปี : 4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ได้จัดทำโครงงานพิเศษอย่างน้อย 1 เรื่อง
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด นักศึกษาชั้นปีที่ 3-4 ออกฝึกปฏิบัติในการจัดทำระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำบาดาลร่วมกับชุมชน อย่างน้อย 10 คน
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ มีการมอบหมายงานให้นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ในรายวิชาโครงงานพิเศษ ทำโครงงานพิเศษอย่างน้อย 1 เรื่อง เพื่อแก้ไขปัญหาในชุมชน

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 46,800.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 21,600.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 21,600.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
21,600.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 25,200.00 บาท )
1) ค่าทำงานล่วงเวลา (วันหยุด)จำนวน 6 คน x จำนวน 10 ชม. x จำนวน 420.00 บาท/ชม.
=
25,200.00 บาท

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 39,500.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 12,000.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 12,000.00 บาท )
1) จำนวน 10 วัน x จำนวน 5 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
12,000.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 8,750.00 บาท )
1) จำนวน 10 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 35 คน
=
8,750.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 8,750.00 บาท )
1) จำนวน 5 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 35 คน
=
8,750.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 10,000.00 บาท )
1) จำนวน 5 คน x จำนวน 1 เดือน x เดือนละ 2,000.00 บาท
=
10,000.00 บาท

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 77,000.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 2,000.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสารในการทำโครงการ จัดทำรูปเล่มรายงาน
1 x 2,000 บาท
=
2,000 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 2,000.00 บาท )
1) ค่าป้ายประชาสัมพันธ์
1 x 2,000 บาท
=
2,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 5,000.00 บาท )
1) วัสดุในการบันทึกข้อมูล รูปภาพ ในการทำโครงการ (Portable Drive, Flash Drive)
1 x 5,000 บาท
=
5,000 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 5,000.00 บาท )
1) ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อใช้ในการเตรียมงานหรือซื้อวัสดุอุปกรณ์ ในการทำโครงการ
1 x 5,000 บาท
=
5,000 บาท

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 63,000.00 บาท )
1) วัสดุในการจัดนิทรรศการแสดงผลงาน
=
3,000.00 บาท
2) ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ (เครื่องแก้ว สารเคมี) ที่ใช้ในการวิเคราะห์น้ำตัวอย่างจากชุมชนในห้องปฏิบัติการ
=
10,000.00 บาท
3) วัสดุเพื่อการศึกษา วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดทำระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำบาดาล (เหล็ก ท่อน้ำ ว
=
50,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 163,300.00 บาท