แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2560
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการ การสร้างผู้ประกอบการ Startup อุบลราชธานี
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านเศรษฐกิจและพัฒนาผู้ประกอบการใหม่
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ผศ.ดร.ชวลิต ถิ่นวงศ์พิทักษ์ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : Mechanical Engineering
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ : วิศวกรรมการชน (Impact Engineering, Crashworthiness) - กลศาสตร์ประยุกต์ และ การออกแบบเครื่องจักรกล ( Applied Mechanics and Machine Design) /การพัฒนาผู้ประกอบการใหม่/การจัดการนวัตกรรม
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
เป็นที่ทราบกันดีว่าประเทศไทยนั้นเป็นประเทศที่ติดอยู่ในกับดักรายได้ปานกลางมาเป็นระยะเวลานาน แม้ว่าประเทศไทยจะเป็นประเทศผู้ผลิตสินค้าและส่งออกสินค้าที่ติดอันดับโลกหลายรายการก็ตาม แต่เนื่องจากประเทศไทยไม่เป็นเจ้าของแบรนด์สินค้านั้นๆ ประกอบกับประเทศไทยมีจำนวนผู้ประกอบการเองไม่มากพอ จึงไม่สามารถสร้างรายรับให้ประเทศได้มากนัก ดังนั้นรัฐบาลจึงมีนโยบายในการสร้างให้เกิดผู้ประกอบการใหม่ ให้เกิดมากขึ้น และกระจายไปยังพื้นที่ต่างๆ โดยเฉพาะในส่วนภูมิภาค ทั้งนี้ ผู้ประกอบการที่จะช่วยสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจได้มาก คือผู้ประกอบการกลุ่ม Startup ซึ่งเป็นผู้ประกอบการที่มีสินค้านวัตกรรม และมีการวิจัยพัฒนาเป็นฐาน ซึ่งการสร้างให้เกิดผู้ประกอบการกลุ่ม startup นั้น มหาวิทยาลัยจำเป็นจะต้องเข้ามามีส่วนร่วม เนื่องจากมหาวิทยาลัยเป็นแหล่งรวมความรู้และผลงานวิจัยที่สามารถพัฒนาไปเป็นสินค้าที่มีศักยภาพได้ โครงการสร้าง Startup อุบลราชธานี (Ubon Startup) เป็นโครงการที่จัดทำขึ้นตามนโยบายและทิศทางการทำงานของรัฐบาล ภายใต้แนวคิดของการสร้างช่องทางให้มีการนำผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกิดจากการศึกษาวิจัยของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และผลงานของ Startup ทั่วไป ให้ได้มีเวทีในการนำผลงานมาขยายผลเชิงรุกไปสู่เชิงพาณิชย์ นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมการสร้าง Startup ในพื้นที่ โดยมีเป้าหมายเป็นกลุ่มนักศึกษาและบุคคลทั่วไป อีกด้วย โครงการนี้ประกอบด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย มีตั้งแต่กิจกรรมการสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์นวัตกรรม สำหรับเป็นสินค้าแก่ Startup กิจกรรมการฝึกอบรม พัฒนา startup โดยนักศึกษาและบุคคลทั่วไปที่เข้าร่วมจะได้รับการฝึกอบรม และได้รับคำชี้แนะจากผู้มีประสบการณ์จากทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ซึ่งเป็นการเพิ่มเติมความรู้ให้แก่ผู้สนใจในการเริ่มธุรกิจ Startup และยังจะมีการฝึกอบรมให้แก่ครู อาจารย์ ที่สนใจในการพัฒนา Startup อีกด้วย นอกจากนี้ ยังจะมีการจัดกิจกรรมแสดงสินค้า และผลงานของ Startup เพื่อเป็นการทดสอบตลาด และสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการ Startup ให้แก่ประชาชนทั่วไปอีกด้วย

วัตถุประสงค์
1.เพื่อสร้างธุรกิจ Startup ในพื้นที่
2.เพื่อเป็นการสร้างโอกาสให้ธุรกิจ Startup ในพื้นที่
3.เพื่อเป็นการสนับสนุนให้มีการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
4.เพื่อเป็นการสร้างความตระหนัก และการรับรู้เกี่ยวกับธุรกิจ Startup ในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
นักเรียนนักศึกษา และบุคคลทั่วไปที่สนใจ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
1000 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ โครงการนี้จึงมีกิจกรรมย่อย จำนวน 8 กิจกรรม ดังต่อไปนี้ กิจกรรมย่อยที่ (1) การจัดทำต้นแบบผลิตภัณฑ์ Startup และสนับสนุนนักศึกษาในการเป็นผู้ประกอบการ กิจกรรมย่อยที่ (2) งานตลาดสร้างสรรค์สำหรับ Startup กิจกรรมย่อยที่ (3) ค่าย Startup และแสดงผลงาน Startup อุบลราชธานี (Ubon Startup camp and Showcases) กิจกรรมย่อยที่ (4) การฝึกอบรมอาจารย์ และบุคลากร ด้าน Startup กิจกรรมย่อยที่ (5) งานแสดงผลงานนวัตกรรมสำหรับ Startup กิจกรรมย่อยที่ (6) การจัดสร้างพื้นที่แสดง และจำหน่ายสินค้าสำหรับ Startup กิจกรรมย่อยที่ (7) ค่ายนวัตกรรมสร้างสรรค์สำหรับธุรกิจเกษตรอาหารใหม่ ยุค Thailand 4.0 กิจกรรมย่อยที่ (8) การบริหารจัดการส่วนกลาง

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2559
2560
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.การจัดทำต้นแบบผลิตภัณฑ์ Startup และสนับสนุนนักศึกษาในการเป็นผู้ประกอบการ - 1,120,000.00
2.งานตลาดสร้างสรรค์สำหรับ Startup -- -- --- 514,200.00
3.ค่าย Startup และแสดงผลงาน Startup อุบลราชธานี (Ubon Startup camp and Showcases) --- -- 811,000.00
4.การฝึกอบรมอาจารย์ และบุคลากร ด้าน Startup --- --- 366,000.00
5.งานแสดงผลงานนวัตกรรมสำหรับ Startup -- -- --- 748,200.00
6.การจัดสร้างพื้นที่แสดง และจำหน่ายสินค้าสำหรับ Startup -- -- --- 850,000.00
7.ค่ายนวัตกรรมสร้างสรรค์สำหรับธุรกิจเกษตรอาหารใหม่ ยุค Thailand 4.0 --- -- 250,600.00
8.การบริหารจัดการส่วนกลาง 340,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 - 30 กันยายน พ.ศ. 2560 รวมเวลา 365 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : สามารถสร้างรายได้ในพื้นที่
ด้านสังคม : เกิดผู้ประกอบการใหม่ในพื้นที่
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
1000
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
90
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
90
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


-
การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 214,820.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 79,200.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 57,600.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
7,200.00 บาท
2) จำนวน 3 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
21,600.00 บาท
3) จำนวน 3 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
21,600.00 บาท
4) จำนวน 1 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
7,200.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 21,600.00 บาท )
1) จำนวน 3 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
10,800.00 บาท
2) จำนวน 3 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
10,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 125,620.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 45,400.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 9 คน
=
1,800.00 บาท
2) จำนวน 3 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 15 คน
=
9,000.00 บาท
3) จำนวน 3 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 15 คน
=
9,000.00 บาท
4) จำนวน 2 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 12 คน
=
4,800.00 บาท
5) จำนวน 4 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
1,600.00 บาท
6) จำนวน 32 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
19,200.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 80,220.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 9 คน
=
3,780.00 บาท
2) จำนวน 3 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 15 คน
=
18,900.00 บาท
3) จำนวน 3 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 15 คน
=
18,900.00 บาท
4) จำนวน 1 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 12 คน
=
5,040.00 บาท
5) จำนวน 4 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
3,360.00 บาท
6) จำนวน 24 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
30,240.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 10,000.00 บาท )
1) ค่าตอบแทนคณะกรรมการจำนวน 4 คน x จำนวน 1 ชม. x จำนวน 2,500.00 บาท/ชม.
=
10,000.00 บาท

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 4,329,450.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 72,000.00 บาท )
1) จำนวน 6 มื้อ x มื้อละ 60.00 บาท x จำนวน 70 คน
=
25,200.00 บาท
2) จำนวน 6 มื้อ x มื้อละ 60.00 บาท x จำนวน 70 คน
=
25,200.00 บาท
3) จำนวน 6 มื้อ x มื้อละ 60.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
21,600.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 295,000.00 บาท )
1) จำนวน 6 มื้อ x มื้อละ 250.00 บาท x จำนวน 70 คน
=
105,000.00 บาท
2) จำนวน 6 มื้อ x มื้อละ 250.00 บาท x จำนวน 70 คน
=
105,000.00 บาท
3) จำนวน 5 มื้อ x มื้อละ 250.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
75,000.00 บาท
4) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 250.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
10,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 25,200.00 บาท )
- จำนวน 2 คัน x จำนวน 7 วัน x ราคา 1,800 บาท/คัน/วัน
=
25,200.00 บาท

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 117,250.00 บาท )
1) จำนวน 1 คน x จำนวน 7 เดือน x เดือนละ 16,750.00 บาท
=
117,250.00 บาท

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 3,820,000.00 บาท )
1) เงินรางวัลการ Pitching (รางวัลที่ 1 รางวัลที่ 2 รางวัลที่ 3 รางวัลละ 20,000 บาท 15,000 บาท 10,000 บา
=
57,000.00 บาท
2) ค่าสนันสนุนสถานที่ในการจัดงาน
=
98,500.00 บาท
3) ค่าสนับสนุนการจัดทำผลงานวิจัยและนวัตกรรมต้นแบบ จำนวน 14 ชิ้น
=
1,120,000.00 บาท
4) เงินรางวัลในการประกวดจัดบูธ (รางวัลที่ 1 รางวัลที่ 2 รางวัลที่ 3 รางวัลละ 5,000 บาท และรางวัลชมเชย 2
=
12,000.00 บาท
5) ค่าสนับสนุนนักศึกษาในการจัดบูธ จำนวน 50 บูธ บูธละ 4,000 บาท
=
200,000.00 บาท
6) ค่าจ้างเหมาจัดงานตลาดสร้างสรรค์
=
200,000.00 บาท
7) ค่าจ้างเหมาการแสดงทุกรายการ 2 กิจกรรม
=
150,000.00 บาท
8) ค่าจ้างเหมาจัดงานประกวดผลงาน
=
200,000.00 บาท
9) ค่าสนันสนุนผลงาน Startup ในการจัดแสดง และจัดเตรียมพื้นที่
=
100,000.00 บาท
10) ค่าจ้างเหมาจัดงานนิทรรศการและตกแต่งพื้นที่
=
300,000.00 บาท
11) ค่าสนับสนุนการจัดทำต้นแบบผลงานวิจัย
=
140,000.00 บาท
12) ค่าจ้างเหมาปรับปรุงและตกแต่งสถานที่
=
500,000.00 บาท
13) ค่าจ้างเหมาจัดซื้อและจัดหาอุปกรณ์แสดงสินค้า
=
200,000.00 บาท
14) ค่าจ้างเหมาจัดทำระบบบริหารจัดการร้าน
=
50,000.00 บาท
15) ค่าจ้างหมารถบัส จำนวน 1 คัน 6 วัน
=
90,000.00 บาท
16) ค่าสนันสนุนค่าเดินทางผู้ประกอบการ
=
66,500.00 บาท
17) ค่าที่พัก จำนวน 30 ห้อง จำนวน 4 คืน
=
180,000.00 บาท
18) ค่าที่พักผู้เข้าร่วมอบ จำนวน 3 คืน 30 ห้อง
=
108,000.00 บาท
19) ค่าจ้างเหมาถ่ายเอกสาร
=
48,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 425,420.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 80,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุสำนักงาน
10 x 8,000 บาท
=
80,000 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 210,000.00 บาท )
1) ค่าไวนิล แผ่นพับ ป้ายโฆษณา
1 x 210,000 บาท
=
210,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 20,000.00 บาท )
1) หมึก
8 x 2,500 บาท
=
20,000 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 30,100.00 บาท )
1) ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง
860 x 35 บาท
=
30,100 บาท

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 85,320.00 บาท )
1) ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ ในการจัดงาน
=
85,320.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 30,310.00 บาท )
1) เครื่องคอมพิวเตอร์
1 x 25,000 บาท
=
25,000 บาท
2) เครื่องปริ้นเตอร์
1 x 5,310 บาท
=
5,310 บาท


งบประมาณทั้งสิ้น 5,000,000.00 บาท