แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2560
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เน้นอัตลักษณ์ในท้องถิ่น
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางสาวนาวินี สุตัญตั้งใจ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : เกษตรศาสตร์
ประสบการณ์ : หัวหน้าโครงการประชุมวิชาการ มอบ.วิจัย
ความเชี่ยวชาญ : การติดตามและประเมินผลโครงการวิจัย
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมัชฌุมา ซื่อจริง คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : BBA-MIS
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
เหรัญญิก
นางสาวโฉมสอางค์ ไชยยงค์ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : สังคมศึกษา
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
เลขานุการ

หลักการและเหตุผล
จังหวัดอุบลราชธานี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย ที่มีประเพณีวัตฒธรรมและวิถีชีวิตที่เป็นอัตลักษณ์ สืบเนื่องมาจากการเป็นประตูการค้าที่เชื่อมความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน การมีแหล่งท่องเที่ยวที่ดึงดูดความสนใจด้านประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม มีธรรมชาติเป็นที่ราบสูงลาดเอียงไปทางตะวันออกมีแม่น้ำโขง เป็นแนวเขตกั้นจังหวัดอุบลราชธานีกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีแม่น้ำชีไหลมาบรรจบกับแม่น้ำมูลซึ่งไหลผ่านกลางจังหวัดจากทิศตะวันตกมายังทิศตะวันออกแล้วไหลลงสู่แม่น้ำโขงที่อำเภอโขงเจียม และมีลำน้ำใหญ่ ๆ อีกหลายสาย ได้แก่ ลำเซบก ลำโดมใหญ่ ลำโดมน้อย และมีภูเขาสลับซับซ้อนหลายแห่งทางบริเวณชายแดนตอนใต้ ที่สำคัญคือ ทิวเขาบรรทัดและทิวเขาพนมดงรัก ซึ่งกั้นอาณาเขตระหว่างจังหวัดอุบลราชธานีกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งส่งผลต่อวิถีชีวิตของชาวจังหวัดอุบลราชธานี และทำให้เกิดการท่องเที่ยวของจังหวัดที่มีความหลากหลาย เป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญของคนในจังหวัด ในฐานะที่มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเป็นมหาวิทยาลัยที่มีหน้าที่ในการให้บริการทางด้านงานวิชาการ งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมแก่ชุมชนในท้องถิ่นรวมถึงเป็นมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนทางด้านศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ การท่องเที่ยว ซึ่งการพัฒนาเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เน้นอัตลักษณ์ในท้องถิ่น เป็นปัจจัยหนึ่งที่จะต้องมีการเตรียมความพร้อมและพัฒนาให้สอดคล้องกับการท่องเที่ยวและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นเพื่อสร้างรายได้ให้กับจังหวัด ดังนั้นมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีจึงเห็นความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการเตรียมความพร้อมให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยว เช่น การรวบรวมองค์ความรู้ของชุมชน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกและผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เป็นอัตลักษณ์ และการประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างการรับรู้และสร้างมูลค่าของผลิตภัณฑ์

วัตถุประสงค์
1.เพื่อรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เน้นอัตลักษณ์ในท้องถิ่น
2.เพื่อพัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เน้นอัตลักษณ์ในท้องถิ่น
3.เพื่อเผยแพร่ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เน้นอัตลักษณ์ในท้องถิ่น

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มวิสากิจชุมชน กลุ่มแม่บ้าน นักศึกษา ผู้สนใจทั่วไป
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
100 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. รวบรวมข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชน 2. การพัฒนาต้นแบบ 3. อบรมถ่ายทอดความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ 4. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ตัวอย่าง 5. การส่งเสริมการผลิต/การตลาด

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2559
2560
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.รวบรวมข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชน -- -- --- --- 50,000.00
2.การพัฒนาต้นแบบ --- --- --- 150,000.00
3.อบรมถ่ายทอดความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ --- -- - --- 145,000.00
4.การพัฒนาผลิตภัณฑ์ตัวอย่าง --- --- - -- 100,000.00
5.การส่งเสริมการผลิต/การตลาด --- --- --- - 50,000.00
6.การประเมินและสรุปผลการดำเนินงาน --- --- --- -- 5,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2559 - 30 กันยายน พ.ศ. 2560 รวมเวลา 304 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : เกิดรายได้ในชุมชน ท้องถิ่นและจังหวัด
ด้านสังคม : ประชาชนอยู่ในชุมชน ไม่เกิดการย้ายถิ่นฐานเพื่อหางานทำ
ด้านสิ่งแวดล้อม : ประชาชนสามารถเลือกใช้สารเคมีสำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ได้อย่างเหมาะสม และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
100
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


-
การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 122,880.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 100,800.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 14,400.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
14,400.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 86,400.00 บาท )
1) จำนวน 6 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
86,400.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 22,080.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 12,000.00 บาท )
1) จำนวน 20 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
12,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 10,080.00 บาท )
1) จำนวน 8 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
10,080.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 595,910.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 43,960.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 40,000.00 บาท )
1) จำนวน 20 ครั้ง x จำนวน 1 คน x ครั้งละ 2,000.00 บาท
=
40,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 3,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 คืน x จำนวน 2 ห้อง x ห้องละ 1,500.00 บาท
=
3,000.00 บาท
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 960.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 2 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
960.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 30,450.00 บาท )
1) จำนวน 10 มื้อ x มื้อละ 35.00 บาท x จำนวน 15 คน
=
5,250.00 บาท
2) จำนวน 12 มื้อ x มื้อละ 35.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
25,200.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 61,500.00 บาท )
1) จำนวน 5 มื้อ x มื้อละ 100.00 บาท x จำนวน 15 คน
=
7,500.00 บาท
2) จำนวน 6 มื้อ x มื้อละ 150.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
54,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 460,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาจัดทำต้นแบบผลิตภัณฑ์
=
300,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมานักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน
=
12,000.00 บาท
3) ค่าจ้างเหมาเก็บรวบรวมข้อมูลผลิตภัณฑ์
=
20,000.00 บาท
4) ค่าจ้างเหมาเตรียม ตกแต่งสถานที่
=
20,000.00 บาท
5) ค่าจ้างเหมารถตู้
=
18,000.00 บาท
6) ค่าจ้างเมาทำตะกอลายผ้า
=
40,000.00 บาท
7) ค่าจ้างเหมาจัดนิทรรศการแสดงผลงาน
=
50,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 81,210.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 56,210.00 บาท )
1) วัสดุสำนักงาน
2 x 10,000 บาท
=
20,000 บาท
2) ค่าถ่ายเอกสาร
2 x 1,000 บาท
=
2,000 บาท
3) วัสดุวิทยาศาสตร์
1 x 14,210 บาท
=
14,210 บาท
4) วัสดุงานบ้านงานครัว
2 x 10,000 บาท
=
20,000 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 5,000.00 บาท )
1) ป้ายประชาสัมพันธ์
5 x 1,000 บาท
=
5,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 10,000.00 บาท )
1) หมึกพิมพ์
2 x 5,000 บาท
=
10,000 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 10,000.00 บาท )
1) น้ำมันเชื้อเพลิง
10 x 1,000 บาท
=
10,000 บาท

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 800,000.00 บาท