แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีกับการร่วมพัฒนาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้แก่เด็ก เยาวชนตามแนวพระราชดำริฯ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายสุภวัฒน์ โสวรรณี คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิทยาศาสตร์ศึกษา
ประสบการณ์ : รับผิดชอบโครงการและประสานการดำเนินงานบริการวิชาการมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ความเชี่ยวชาญ : การบริหารงบประมาณและโครงการ
หัวหน้าโครงการ
นายรักเกียรติ แสนประเสริฐ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : พืชศาสตร์(ไม้ผล)
ประสบการณ์ : ระบบน้ำเพื่อการเกษตร
ความเชี่ยวชาญ : ขยายพันธุ์พืช การผลิตไม้ผล
ผู้ร่วมโครงการ
ผศ.ณัชพล สามารถ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : ส่งเสริมการเกษตร
ประสบการณ์ : งานวิจัยแบบมีส่วนร่วม ที่ปรึกษาด้านการเกษตรผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
ความเชี่ยวชาญ : เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม่ การมีส่วนร่วม(เกษตร)ติดตามประเมินผล
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวช่อทิพย์ กัณฑโชติ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : พฤกษศาสตร์ (อนุกรมวิธานพืช)
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวจิราภรณ์ หลาบคำ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : สาธารณสุขศาสตร์ (อนามัยสิ่งแวดล้อม)
ประสบการณ์ : ด้านบริการวิชาการ 1) ผู้ร่วมโครงการบริการวิชาการ โรงเรียนปลอดภัยอนามัยสิ่งแวดล้อมดี ปี 2556 2) ผู้ร่วมโครงการบริการวิชาการ สานฝันต้นกล้าสาธารณสุข ปี 2557 3) ผู้ร่วมโครงการบริการวิชาการ โรงเรียนต้นแบบด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมดี ปี 2557 4) หัวหน้าโครงการโรงเรียนต้นแบบด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมปี 2 พ.ศ. 2558 5) หัวหน้าโครงการโรงเรียนต้นแบบด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมปี 3 พ.ศ. 2559
ความเชี่ยวชาญ : การสุขาภิบาลอาหาร การจัดการคุณภาพน้ำ งานอนามัยสิ่งแวดล้อม
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
ตามที่กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 22 ได้มีนโยบายให้มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ร่วมดำเนินงานเพื่อพัฒนาโรงเรียนฯ ใน 3 ประเด็น คือ 1. การจัดการความรู้ด้านเทคโนโลยีการเกษตร ให้ดำเนินงานต่อยอดจากหน่วยงานทางเกษตร ปศุสัตว์ ที่มอบปัจจัยการผลิตให้กับโรงเรียนแต่ไม่ได้เน้นการถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นและมีความสำคัญในการปฏิบัติ 2. การอนุรักษ์พันธุ์กรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (อพสธ.) เน้นงานสวนพฤกศาสตร์ในโรงเรียนซึ่งมีกรอบการดำเนินงานที่ชัดเจนแล้ว นอกจากนี้ ยังอยากให้เน้นการจัดทำธนาคารเมล็ดพันธุ์ / พิพิธภัณฑ์ พืชในท้องถิ่น การเก็บเมล็ดพันธุ์พืชผัก เพื่อการเพาะปลูกในโรงเรียน 3. การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบความปลอดภัยอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ต้นแบบด้านการจัดการขยะ ด้านสนามเด็กเล่นปลอดภัย ด้านห้องเรียนปลอดภัย ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและด้านการสุขาภิบาลอาหาร ซึ่งมีโรงเรียนเป้าหมาย 4 แห่ง คือ โรงเรียน ตชด.ศ.ดร.เนวิน สคริมชอร์ โรงเรียน ตชด.บ้านแก่งศรีโคตร โรงเรียน ตชด.บ้านป่าหญ้าคา และ ศกร.ตำรวจตระเวนชายแดนภูดานกอย ซึ่งสำนักงานส่งเสริมบริหารงานวิจัย ฯ ได้ร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์และวิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข จัดทำแผนการดำเนินงานและได้ถวายรายงานแดสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เมื่อคราวเสด็จเยี่ยม ศกร.ภูดานกอย อ.ปทุมราชวงศา จ.อำนาเจริญ เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2559 ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานของมหาวิทยาลัยมีความต่อเนื่อง บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ สำนักงานส่งเสริมบริหารงายวิจัยฯ จึงได้จัดทำโครงการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีกับการร่วมพัฒนาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนขึ้น โดยจะประสานคณะที่เกี่ยวข้องกำหนดแผนกิจกรรมการดำเนินงาน ต่อไป

วัตถุประสงค์
1.เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตรให้แก่ครูและนักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน
2.เพื่อพัฒนางานสวนพฤกษศาสตร์ในโรงเรียนและการอนุรักษ์พืชท้องถิ่น
3.เพื่อพัฒนาโรงเรียนต้นแบบด้านความปลอดภัย อนามัยและโภชนาการ

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ครูและนักเรียนในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน 4 แห่ง คือ รร.ตชด.เนวิน สคริมชอร์ รร.ตชด.บ้านแก่งศรีโคตร รร.ตชด.บ้านป่าหญ้าคา และ ศกร.ภูดานกอย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
300 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. ถอดบทเรียนการดำเนินงานและกำหนดแผนการดำเนินงานประจำปี 2. จัดทำกิจกรรม / โครงการย่อยเพื่อดำเนินงานในประเด็นต่าง ๆ 3. ดำเนินการตามแผน 4. กำกับติดตามและประเมินความก้าวหน้า 5. สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2560
2561
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ถอดบทเรียนการดำเนินงานและกำหนดแผนการดำเนินงานประจำปี -- --- --- --- 10,000.00
2.จัดทำกิจกรรม / โครงการย่อยเพื่อดำเนินงานในประเด็นต่าง ๆ - --- --- --- 8,640.00
3.ดำเนินการตามแผน -- 1,000,000.00
4.กำกับติดตามและประเมินความก้าวหน้า --- -- -- --- 10,000.00
5.สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน --- --- --- -- 10,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2559 - 7 ธันวาคม พ.ศ. 2559 รวมเวลา 1 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : - นักเรียนมีสุขภาพที่ดีขึ้น
ด้านสิ่งแวดล้อม : - เกิดการพัฒนาความสะอาดและปลอดภัยของสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนที่ร่วมโครงการ
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
0
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
0
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
0
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


-
การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 265,680.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 230,400.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 230,400.00 บาท )
1) จำนวน 32 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
230,400.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 35,280.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 18,000.00 บาท )
1) จำนวน 30 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
18,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 17,280.00 บาท )
1) จำนวน 16 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
17,280.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 542,960.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 75,360.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 60,000.00 บาท )
1) จำนวน 30 ครั้ง x จำนวน 2 คน x ครั้งละ 1,000.00 บาท
=
60,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 15,360.00 บาท )
1) จำนวน 32 วัน x จำนวน 2 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
15,360.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 72,000.00 บาท )
1) จำนวน 8 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 300 คน
=
72,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 288,000.00 บาท )
1) จำนวน 8 มื้อ x มื้อละ 120.00 บาท x จำนวน 300 คน
=
288,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 57,600.00 บาท )
- จำนวน 2 คัน x จำนวน 16 วัน x ราคา 1,800 บาท/คัน/วัน
=
57,600.00 บาท

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 50,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาบริการ
=
50,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 230,000.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 40,000.00 บาท )
1) วัสดุสำนักงาน
4 x 10,000 บาท
=
40,000 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 20,000.00 บาท )
1) วัสดุประชาสัมพันธ์
4 x 5,000 บาท
=
20,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 30,000.00 บาท )
1) หมึกพิมพ์
12 x 2,500 บาท
=
30,000 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 140,000.00 บาท )
1) วัสดุการศึกษา
=
40,000.00 บาท
2) วัสดุการเกษตร
=
60,000.00 บาท
3) วัสดุวิทยาศาสตร์
=
40,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 1,038,640.00 บาท