แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2560
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ ฝึกอบรมการเพาะเลี้ยงจิ้งหรีด
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายการบริการวิชาการกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในด้านสังคมสูงวัย ด้านการยกระดับคุณภาพการศึกษา ด้านการสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ และการเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพของชุมชนและสังคม
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ดร.สุกัญญา คลังสินศิริกุล คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : กีฎวิทยา
ประสบการณ์ : การควบคุมแมลงผัก และศัตรูข้าว การควบคุมแมลงศัตรูพืชโโดยชีววิธี
ความเชี่ยวชาญ : การควบคุมแมลงศัตรูพืช การควบคุมแมลงศัตรูพืชโโดยชีววิธี
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบันประชากรของมนุษย์มีอัตราการเพิ่มขึ้นจำนวนมาก เมื่อมนุษย์มีการเพิ่มจำนวนมากขึ้นความต้องการของมนุษย์ก็มีมากขึ้นเช่นกัน ทั้งในด้านอาหาร เครื่องนุ่งห่ม และด้านการรักษาโรค ซึ่งไม่สามารถที่จะสนองความต้องการของมนุษย์ทั้งหมดได้ โดยเฉพาะด้านอาหารที่คลาดแคลนเป็นจำนวนมากองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) และโครงการอาหารเพื่อโลกแห่งสหประชาชาติ เปิดเผยรายงานระบุว่า ขณะนี้มีประชากร 166 ล้านคน ใน 22 ประเทศทั่วโลกตกอยู่ในภาวะหิวโหยหรือได้รับความยากลำบากในการหาอาหาร เนื่องมาจากภาวะสงคราม ภัยธรรมชาติ ซึ่งทำให้เกิดภาวะวิกฤตอาหาร (คมชัดลึก, 2556) เมื่อไม่นานมานี้ องค์การอาหารและเกษตรแห่งประชาชาติ (FAO) ออกรายงานอย่างเป็นทางการว่า หนึ่งในหนทางที่ดีที่สุดในการเลี้ยงประชากรโลกที่คาดว่าจะมีกว่า 9,000 ล้านคน ในปี ค.ศ. 2050 คือ “แมลง” ซึ่งแมลงมีสารอาหารจำพวกโปรตีนร้อยละ 38.6-65.5 และมีไขมันอยู่ระหว่างร้อยละ 4.70-34.19 ของน้ำหนักแห้งใน 100 กรัม (ทัศนีย์ และยุพา, 2557) อีกทั้งแมลงยังเลี้ยงง่าย เจริญเติบโตเร็ว ต้นทุนในการผลิตต่ำ นอกจากนี้แมลงยังสามารถที่จะแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหารอย่างอื่นได้อีกด้วย อาทิเช่น โปรตีนจิ้งหรีดผง ข้าวเกรียบจิ้งหรีด เส้นสปาเก็ตตี้จิ้งหรีด เป็นต้น ในด้านอุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ราคาอาหารสัตว์ในตลาดโลกเพิ่มสูงมากจึงทำให้ต้นทุนการผลิตอาหารสัตว์เพิ่มสูงขึ้น การหาทางเลือกใหม่ๆในการลดต้นทุนการผลิตอาหารสัตว์จึงใช้แมลงเข้ามาเนื่องจากแมลงมีโปรตีนและไขมันและสามารถผลิตได้ปริมาณมากในเวลาที่สั้นซึ่งโปรตีนที่ได้จากแมลงมีผลใกล้เคียงกับปลาป่นจึงเป็นแหล่งอาหารสัตว์ที่น่าสนใจ นอกจากในด้านอาหาร แมลงยังสามารถที่จะให้ผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น น้ำผึ้ง นมผึ้ง เส้นใยจากหนอนไหม เป็นต้น ซึ่งผลิตภัณฑ์เหล่านี้สามารถนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อย่างอื่นได้ แมลงจึงเป็นทางออกทางเลือกสำหรับมนุษย์ใน

วัตถุประสงค์
1.1. เพื่อให้ความรู้แก่กลุ่มเกษตรกรในการการเพาะเลี้ยงจิ้งหรีด และแนวทางในการแก้ไขปัญหาในการเพาะเลี้ยง และการประหยัดต้นทุนการผลต 2. เพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรอันเนื่องมาจากการสูญเสีย จิ้งหรีด เนื่องจากการตายของแมลงในกระบวนการเลี้ยง 3. เพื่อช่วยให้เกษตรกรมีรายได้มากขึ้น เนื่องจากผลผลิต ที่ได้มีคุณภาพ ทำให้ขายผลผลิตได้ราคาสูง

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงจิ้งหรีดในจังหวัดอุบลราชธานีและศรีสะเกษ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
60 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
วิธีการดำเนินการ 1. คัดเลือกเกษตรกร ในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี และศรีสะเกษ โดยเกษตรกรต้องเป็นผู้สนใจและสมัครใจในการเข้าร่วมโครงการ 2. รวมกลุ่มเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงจิ้งหรีด จำนวนสมาชิกกลุ่มละ 3-5 รายต่อกลุ่ม มีบ่อเลี้ยงจิ้งหรีดอย่างน้อย 1 ย่อต่อสมาชิก 1 ราย 3. อบรมให้เกษตรกรให้ใช้เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงจิ้งหรีดที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน การเพาะเลี้ยงจิ้งหรีดให้ได้คุณภาพ เกษตรกรต้องเข้าใจถึง 1. ลักษณะโรงเรือนที่ดี สภาพนิเวศน์ในโรงเรือนที่จำเป็น และการจัดการโรงเรือนที่เหมาะสม 2. วงจรชีวิต และความต้องการอาหารของจิ้งหรีด 3. การเพาะเลี้ยงจิ้งหรีด อุปกรรณ์ในการเลี้ยง การให้อาหาร การจัดการในระหว่างการเลี้ยง การเตรียมการก่อน และหลังการเลี้ยง 4. การสังเกตอาหารของโรคที่เกิดในแมลง และการจัดการป้องกันกำจัด 5. การผลิตอาหารทดแทน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2559
2560
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.รับสมัคร คัดเลือกผู้เข้าร่วมอบรม -- --- --- --- 10,000.00
2.จัดอบรม --- --- --- 80,000.00
3.จัดทำสรุปโครงการ --- --- - --- 10,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2559 - 29 ธันวาคม พ.ศ. 2559 รวมเวลา 1 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : 1. เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขี้นเนื่องจากการลดต้นทุนการผลิต และลดการสูญเสียในการผลิตได้ 2. สามารถแก้ไขปัญหาการเพาะเลี้ยงจิ้งหรีดของเกษตรกร และเกษตรกรมีความพึงพอใจต่อการแก้ไขปัญหา
ด้านสังคม : -
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
60
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
70
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


-
การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 21,000.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 10,800.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 10,800.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 9 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
10,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 10,200.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 6,000.00 บาท )
1) จำนวน 6 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 5 คน
=
6,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 4,200.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 5 คน
=
4,200.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 31,800.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 7,200.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
7,200.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 9,600.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
9,600.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 15,000.00 บาท )
- จำนวน 5 คัน x จำนวน 1 วัน x ราคา 3,000 บาท/คัน/วัน
=
15,000.00 บาท

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 47,200.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 10,000.00 บาท )
1) หมึก กระดาษ
1 x 5,000 บาท
=
5,000 บาท
2) ถ่ายเอกสาร เข้าปก
1 x 5,000 บาท
=
5,000 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 5,000.00 บาท )
1) น้ำมันเชื้อเพลิง
1 x 5,000 บาท
=
5,000 บาท

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 32,200.00 บาท )
1) ค่าวัสดุเกษตร ค่าวัสดุ อุปการณ์การฝึกอบรม อาหารจิ้งหรีด
=
22,200.00 บาท
2) ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์
=
10,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 100,000.00 บาท