แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2560
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการจัดสอบประเมินความสามารถทางภาษาอังกฤษนักศึกษามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตามมาตรฐาน Common European Framework
ลักษณะโครงการ อื่นๆ : การทดสอบวัดความรู้
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : พัฒนาระบบและกลไกการบริการวิชาการอย่างมีส่วนร่วมให้มีประสิทธิภาพ ตามนโยบาย/ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยและประเทศ
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนและการยกระดับคุณภาพการศึกษา
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายพรนเรศ มูลเมืองแสน คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิจัยการศึกษา
ประสบการณ์ :
ความเชี่ยวชาญ :
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
ตามที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีนโยบายยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษในสถาบันอุดมศึกษา ให้เป็นบัณฑิตที่มีความพร้อมทางวิชาการ วิชาชีพ และทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษในระดับที่ใช้งานได้เป็นอย่างดี ดังนั้นมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จึงกำหนดนโยบายการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาโดยให้จัดการทดสอบความรู้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาทุกคน ทุกหลักสูตร ทุกระดับการศึกษาก่อนสำเร็จการศึกษา โดยเริ่มตั้งแต่ปีการศึกษา 2559 เป็นต้นไป โดยให้เป็นไปตามมาตรฐาน CEFR (Common European Framework of Reference for Languages) ซึ่งเป็นมาตรฐานการประเมินความสามารถทางภาษาที่สหภาพยุโรปจัดทําขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอน และการประเมินภาษาที่สองหรือภาษาตางประเทศ ปจจุบันกรอบอางอิง CEFR ไดรับการยอมรับอยางกวางขวางวาเปนมาตรฐานในการจัดลําดับความสามารถทางภาษาของแตละบุคคล ที่ใช้อธิบายระดับความเชี่ยวชาญทางภาษา และครอบคลุมองค์ประกอบความสามารถทางภาษาอย่างละเอียด เป็นเกณฑ์มาตรฐานที่บ่งชี้ว่าใช้ภาษาอังกฤษในการฟัง พูด อ่าน เขียนได้ในระดับใด กองบริการการศึกษา สำนักงานอธิการบดี จึงจัดโครงการจัดสอบประเมินความสามารถทางภาษาอังกฤษนักศึกษามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตามมาตรฐาน Common European Framework เพื่อวัดความสามารถทางภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย โดยใชแบบทดสอบที่สามารถเทียบเคียงผลไดกับกรอบอางอิง CEFR อันจะนําไปสูการพัฒนาบัณฑิตของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีให้มีความพร้อมในการใช้ภาษาอังกฤษในการทำงานต่อไป

วัตถุประสงค์
1.เพื่อวัดความรู้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายตามมาตรฐาน Common European Framework
2.เพื่อประเมินผลการสอบวัดความรู้ภาษาอังกฤษตามมาตรฐาน CEFR

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
นักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่จะสำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2559
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
2600 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
จัดการทดสอบโดยใช้ชุดข้อสอบ English Discoveries Placement Test โดยการสอบผ่านระบบคอมพิวเตอร์

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2559
2560
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.วางแผนโครงการ --- -- --- --- 0.00
2.ประชาสัมพันธ์โครงการ --- - --- --- 0.00
3.จัดการทดสอบ --- --- - --- 232,280.00
4.สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ --- --- -- --- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2559 - 29 กันยายน พ.ศ. 2560 รวมเวลา 362 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
29 เมษายน พ.ศ. 2560
8.30 - 18.30 ทดสอบภาษาอังกฤษ รอบที่ 1 -5 คณะศิลปศาสตร์/กองบริการการศึกษา
30 เมษายน พ.ศ. 2560
8.30 - 18.30 ทดสอบภาษาอังกฤษ รอบที่ 6-10 คณะศิลปศาสตร์/กองบริการการศึกษา
1 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
8.30 - 18.30 ทดสอบภาษาอังกฤษ รอบที่ 11-15 คณะศิลปศาสตร์/กองบริการการศึกษา

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : -
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : นักศึกษาได้รับการทดสอบและมีคะแนนภาษาอังกฤษตามมาตรฐาน CEFR

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
2600
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
75
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
0
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


-
การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 19,480.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 19,480.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 1,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
1,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 18,480.00 บาท )
1) จำนวน 4 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 11 คน
=
18,480.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 212,800.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 1,800.00 บาท )
1) จำนวน 6 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
1,800.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 3,000.00 บาท )
1) จำนวน 6 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
3,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 208,000.00 บาท )
1) ค่าเช่าชุดข้อสอบภาษาอังกฤษออนไลน์ ชุดๆละ 80 บาท X 2,600 ชุด
=
208,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 0.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 232,280.00 บาท