แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2561
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ ฝึกอบรมการเพาะเลี้ยงจิ้งหรีด
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
ยังไม่ได้เพิ่มมาตรการ
ยังไม่ได้เพิ่มนโยบาย
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางสาวสุกัญญา คลังสินศิริกุล คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : กีฏวิทยาและสิ่งแวดล้อม
ประสบการณ์ : การควบคุมแมลงศัตรูพืช
ความเชี่ยวชาญ : การควบคุมแมลงศัตรูพืช
หัวหน้าโครงการ
นางสาวจำนงค์ จันทะสี คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : พืชสวน
ประสบการณ์ : งานอารักขาพืช (โรคและแมลงศัตรูพืช) การผลิตเห็ด วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน
ความเชี่ยวชาญ : งานอารักขาพืช (โรคและแมลงศัตรูพืช) การผลิตเห็ด
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
ประชากรโลกได้มีอัตราการขยายตัวมากขึ้น รวมทั้งมีความต้องการนำพื้นที่ ไปใช้ในการสร้างที่อยู่อาศัย การทำโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งขยายพื้นที่เพาะปลูกเพื่อให้มีวัตถุดิบ และอาหารมากเพียงพอ แก่ความต้องการของมนุษย์ ที่มากขึ้นเช่นกัน ทั้งในด้านอาหาร เครื่องนุ่งห่ม และด้านการรักษาโรค ซึ่งไม่สามารถที่จะสนองความต้องการของมนุษย์ทั้งหมดได้ โดยเฉพาะด้านอาหารที่คลาดแคลนเป็นจำนวนมากองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) และโครงการอาหารเพื่อโลกแห่งสหประชาชาติ เปิดเผยรายงานระบุว่า ขณะนี้มีประชากร 166 ล้านคน ใน 22 ประเทศทั่วโลกตกอยู่ในภาวะหิวโหยหรือได้รับความยากลำบากในการหาอาหาร เนื่องมาจากภาวะสงคราม ภัยธรรมชาติ ซึ่งทำให้เกิดภาวะวิกฤตอาหาร (คมชัดลึก, 2556) เมื่อไม่นานมานี้ องค์การอาหารและเกษตรแห่งประชาชาติ (FAO) ออกรายงานอย่างเป็นทางการว่า หนึ่งในหนทางที่ดีที่สุดในการเลี้ยงประชากรโลกที่คาดว่าจะมีกว่า 9,000 ล้านคน ในปี ค.ศ. 2050 คือ “แมลง” ซึ่งแมลงมีสารอาหารจำพวกโปรตีนร้อยละ 38.6-65.5 และมีไขมันอยู่ระหว่างร้อยละ 4.70-34.19 ของน้ำหนักแห้งใน 100 กรัม (ทัศนีย์ และยุพา, 2557) อีกทั้งแมลงยังเลี้ยงง่าย เจริญเติบโตเร็ว ต้นทุนในการผลิตต่ำ นอกจากนี้แมลงยังสามารถที่จะแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหารอย่างอื่นได้อีกด้วย อาทิเช่น โปรตีนจิ้งหรีดผง ข้าวเกรียบจิ้งหรีด เส้นสปาเก็ตตี้จิ้งหรีด เป็นต้น ในด้านอุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ราคาอาหารสัตว์ในตลาดโลกเพิ่มสูงมากจึงทำให้ต้นทุนการผลิตอาหารสัตว์เพิ่มสูงขึ้น การหาทางเลือกใหม่ๆในการลดต้นทุนการผลิตอาหารสัตว์จึงใช้แมลงเข้ามาเนื่องจากแมลงมีโปรตีนและไขมันและสามารถผลิตได้ปริมาณมากในเวลาที่สั้นซึ่งโปรตีนที่ได้จากแมลงมีผลใกล้เคียงกับปลาป่นจึงเป็นแหล่งอาหารสัตว์ที่น่าสนใจ นอกจากในด้านอาหาร แมลงยังสามารถที่จะให้ผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น น้ำผึ้ง นมผึ้ง เส้นใยจากหนอนไหม เป็นต้น ซึ่งผลิตภัณฑ์เหล่านี้สามารถนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อย่างอื่นได้ แมลงจึงเป็นทางออกทางเลือกสำหรับมนุษย์ใน จากการอบรมให้เกษตรกรโครงการเศรษฐกิจฐานราก ในปีงบประมาณ 2560 พบปัญหาความเข้าใจ และข้อจำกัดของเกษตรกรในการเริ่มต้นเพาะเลี้ยงจิ้งหรีด ดังนั้นในปีงบประมาณ 2561 จะได้ทำการอบรม และปฏิบัติการในการทำบ่อเพาะเลี้ยง ร่วมกับเกษตรกร เพื่อไม่ให้เกษตรกรได้ทำความเข้าใจในทุกขั้นตอนของการเพาะเลี้ยง เพื่อนำไปปฏิบัติได้จริง และจะมีการจัดทำจุดสาธิตการเพาะเลี้ยงจิ้งหรีดในพื้นที่ เพื่อเป็นแหล่งดูงาน และศึกษาปัญหาที่พบบ่อยในพื้นที่เกษตร เพื่อหาแนวทางแก้ไข และเผยแพร่ความรู้แก่เกษตร

วัตถุประสงค์
1. 1. เพื่อให้ความรู้แก่กลุ่มเกษตรกรในการการเพาะเลี้ยงจิ้งหรีด และแนวทางในการแก้ไขปัญหาในการเพาะเลี้ยง และการประหยัดต้นทุนการผลิต 2. เพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรอันเนื่องมาจากการสูญเสีย จิ้งหรีด เนื่องจากการตายของแมลงในกระบวนการเลี้ยง 3. เพื่อช่วยให้เกษตรกรมีรายได้มากขึ้น เนื่องจากผลผลิต ที่ได้มีคุณภาพ ทำให้ขายผลผลิตได้ราคาสูง 4. จัดทำศูนย์เรียนรู้ การเพาะเลี้ยงจิ้งหรีดเพื่อให้เกษตรกรดูงาน

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงจิ้งหรีดในจังหวัดอุบลราชธานีและศรีสะเกษ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
80 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
ทำการอบรมเกษตรจำนวน 4 รุ่นละ 20 คน เนื่องจากเป็นการอบรบเชิงปฎิบัติการ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2560
2561
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ประชาสัมพันธ์การอบรม -- --- --- --- 3,000.00
2.อบรมเกษตรกร จำนวน 2 รุ่น รุ่นละ 20 คน --- - --- --- 60,000.00
3.อบรมเกษตรกรรุ่นที่ 3 และ 4 --- --- - --- 60,000.00
4.สรุปโครงการ --- --- --- - 20,000.00
5.ทำศูนย์เรียนรู้การเพาะเลี้ยงจิ้งหรีด - 57,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560 - 30 กันยายน พ.ศ. 2561 รวมเวลา 365 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
13 มกราคม พ.ศ. 2561
8.00-16.30 อบรมเกษตรกรรุ่นที่ 1 ดร.สุกัญญา คลังสินศิริกุล และคณะ
13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
8.00-16.30 อบรมเกษตกร รุ่นที่ 2 ดร.สุกัญญา คลังสินศิริกุล และคณะ
25 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
8.00-16.30 อบรมเกษตรกรรุุ่นที่ 3 ดร.สุกัญญา คลังสินศิริกุล และคณะ
22 มิถุนายน พ.ศ. 2561
8.00-16.30 น. อบรมเกษตรกรรุ่นที่ 4 ดร.สุกัญญา คลังสินศิริกุล และคณะ

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : เพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกร
ด้านสังคม : เกษตรกรสามารถเพิ่มรายได้ มีีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
80
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
10
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา แมลงที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ
หลักสูตร วิทยาศาตรบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร์
นักศึกษาชั้นปี : 3-4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน การเพาะเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจ
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ การเพิ่มผลผลิตของจิ้งหรีด

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 45,100.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 21,600.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 21,600.00 บาท )
1) จำนวน 4 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
14,400.00 บาท
2) จำนวน 4 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
7,200.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 23,500.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 23,500.00 บาท )
1) จำนวน 10 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
6,000.00 บาท
2) จำนวน 5 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
17,500.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 107,800.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 4,800.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 4,800.00 บาท )
1) จำนวน 4 วัน x จำนวน 5 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
4,800.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 24,000.00 บาท )
1) จำนวน 8 มื้อ x มื้อละ 30.00 บาท x จำนวน 100 คน
=
24,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 28,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 70.00 บาท x จำนวน 100 คน
=
28,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 18,000.00 บาท )
- จำนวน 3 คัน x จำนวน 4 วัน x ราคา 1,500 บาท/คัน/วัน
=
18,000.00 บาท

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 30,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 คน x จำนวน 12 เดือน x เดือนละ 2,500.00 บาท
=
30,000.00 บาท

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 3,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาถ่ายเอกสาร
=
3,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 47,100.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 วัสดุสำนักงาน ( รวม 4,000.00 บาท )
1) วัสดุสำนักงาน (หมึก กระดาษ แฟ้ม ปากกา เอกสารประกอบการอบรม)
80 x 50 บาท
=
4,000 บาท

หัวข้อ 3.2 วัสดุประชาสัมพันธ์ ( รวม 2,000.00 บาท )
1) ค่าไวนิลประชาสัมพันธุ์
4 x 500 บาท
=
2,000 บาท

หัวข้อ 3.3 วัสดุคอมพิวเตอร์ ( รวม 2,500.00 บาท )
1) หมึกพิมพ์
1 x 2,500 บาท
=
2,500 บาท

หัวข้อ 3.4 วัสดุเชื้อเพลิง ( รวม 6,000.00 บาท )
1) วัสดุน้ำมันเชื้อเพลิง และหล่อลื่น (3 คัน*1,000 บาท* 4 ครั้ง)
12 x 500 บาท
=
6,000 บาท

หัวข้อ 3.5 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 32,600.00 บาท )
1) วัสดุเกษตร (ค่าวัสดุ อุปการณ์การฝึกอบรม อาหารจิ้งหรีด)
=
15,000.00 บาท
2) วัสดุวิทยาศาสตร์
=
7,600.00 บาท
3) ค่าวัสดุก่อสร้าง
=
10,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าครุภัณฑ์ ( รวม 0.00 บาท )


งบประมาณทั้งสิ้น 200,000.00 บาท