แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2556
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ จัดเก็บข้อมูลนักการเมืองถิ่น พื้นที่อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
ลักษณะโครงการ การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมบนฐานวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ดีงาม เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและการพึ่งพาตนเองของชุมชนท้องถิ่น
นโยบาย : บริการวิชการด้านอื่นๆ : เสริมสร้างการเรียนรู้แก่ชุมชน ร่วมกับภาครัฐ เอกชน
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางสาวญาเรศ อัครพัฒนานุกูล คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : ปรัชญาการเมือง การเมืองไทยสมัยใหม่
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวเพียงกมล มานะรัตน์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : การปกครอง
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : การเมืองท้องถิ่น และ นโยบายสาธารณะ
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวศิริพร ยศมูล คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : รัฐประศาสนศาสตร์
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : การคลังท้องถิ่นนโยบายสาธารณะการบริหารทรัพยากรมนุษย์
ผู้ร่วมโครงการ
นายเอกราช บุญเริง คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : -
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทนนั้น จำเป็นที่จะต้องมีการเลือกตั้งเป็นเครื่องมือในการเลือกตัวแทนของประชาชนเข้าไปบริหารกิจการบ้านเมือง แต่การเลือกตัวแทนของประชาชนดังกล่าวนี้ เป็นที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าไม่ได้สะท้อนถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างแท้จริง นักการเมืองหรือตัวแทนที่ถูกเลือกเข้าไปรักษาผลประโยชน์ของกลุ่ม/พรรค ตนเอง ไม่ได้ปกป้องซึ่งผลประโยชน์ของประชาชน อันเป็นเป้าหมายหลักของประชาธิปไตยแบบตัวแทน อีกทั้งยังเต็มไปด้วยปัญหาการทุจริตเลือกตั้ง และระบบอุปถัมภ์ หรือที่นักวิชาการเรียกว่า ?ประชาธิปไตยเพียง 10 วินาที? คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลนักการเมืองถิ่นในจังหวัดอุบลราชธานี อันจะเป็นการให้ข้อมูลเบื้องต้นสำคัญบางประการของนักการเมือง เพื่อนำไปสู่ทางเลือกในการตัดสินใจทางการเมืองของประชาชนอย่างมีเหตุมีผลต่อไป

วัตถุประสงค์
1.เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นของนักการเมืองถิ่นในอำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี และเผยแพร่ต่อสาธารณะ อันจะนำไปสู่ทางเลือกในการตัดสินใจทางการเมืองของประชาชนอย่างมีเหตุมีผล
2.เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้เกิดการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
นักเรียน นักศึกษา ประชาชน ทั่วไป
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
50 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
รวบรวมข้อมูลนักการเมืองถิ่น ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจทางการเมืองของประชาชนอย่างมีเหตุมีผล เผยแพร่ข้อมูลนักการเมืองถิ่น เพื่อการตัดสินใจทางการเมืองของประชาชนอย่างมีเหตุมีผล

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2555
2556
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1. --- --- -- 85,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ - รวมเวลา 0 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : -1. ได้ข้อมูลเบื้องต้นของนักการเมืองถิ่นในอำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี และเผยแพร่ต่อสาธารณะ อันจะนำไปสู่ทางเลือกในการตัดสินใจทางการเมืองของประชาชนอย่างมีเหตุมีผล 2. ประชาชนเกิดความตระหนักรู้ทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
-50
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
60
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
-0
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา
หลักสูตร
นักศึกษาชั้นปี :
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 0.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 0.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 0.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 0.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
0 แผ่น x 0.50 บาท
=
0.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 5,000.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 0.00 บาท