แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2556
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ การฝึกอบรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมเชื่อมประสานสำหรับบุคลากรชุมชน เพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพ
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมบนฐานวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ดีงาม เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและการพึ่งพาตนเองของชุมชนท้องถิ่น
นโยบาย : โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านอาชีพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายสุรเจษฐ์ ก้อนจันทร์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิศวกรรมอุตสาหการ
ประสบการณ์ : จัดกิจกรรมค่ายบริการวิชาการ
ความเชี่ยวชาญ : เทคนิคการสอนManufacturing Process
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
ด้วยปัจจุบันอุตสาหกรรมด้านการผลิต การประกอบและการซ่อมการสร้างงานขนาดย่อม เป็นอุตสาหกรรมที่มีบทบาทควบคู่กับอุตสาหกรรมการเกษตร ซึ่งมีผลกระทบต่อการพัฒนาของอุตสาหกรรมตลอดจนถึงระบบเศรษฐกิจของประเทศ ปัจจุบันผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต้องแข่งขันในด้านของต้นทุนการผลิตและคุณภาพของงานและผลิตภัณฑ์ ให้สามารถนำออกขายสู่ท้องตลาดได้ ประกอบกับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 จึงส่งผลให้ประเทศไทยที่เคยเป็นศูนย์กลางของอุตสาหกรรม ต้องปรับปรุงรูปแบบและแนวทางในการการพัฒนาเศรษฐกิจ ให้สามารถทัดเทียมและมีประสิทธิภาพ ที่เพียงพอในการเข้าไปแข่งขันในระดับภูมิภาคอาเซียนได้ การเพิ่มประสิทธิภาพด้านแรงงานก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญที่จะเป็นแรงขับเคลื่อนภาคอุตสาหกรรมให้ไปได้ไกลและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยอุบลโดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าวจึงจัดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการขึ้นสำหรับบุคลากรชุมชนตลอดจนถึงผู้ประกอบการ และผู้ที่สนใจทั่วไปได้เข้าร่วมโครงการดังกล่าว เพื่อได้นำความรู้เทคโนโลยีการเชื่อมประสานไปใช้ในการประกอบอาชีพในภาคอุตสาหกรรมหรือใช้เป็นความรู้ในการบ่มเพาะธุรกิจ เพื่อเป็นเจ้าของกิจการในอนาคต

วัตถุประสงค์
1.1.เพื่อเผยแพร่งานบริการวิชาการด้านเทคโนโลยีการเชื่อมให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง 2.ใช้ทรัพยากร เครื่องมือ เครื่องจักรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3.เพื่อประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ชื่อเสียงของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
1.ข้าราชการ-ลูกจ้าง-พนักงานหน่วยงานของรัฐ/เอกชน 2.ผู้ประกอบการงานช่าง 3.บุคคล ประชาชนที่สนใจ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
30 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ) 1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ 2. แผนการดำเนินงาน กิจกรรม ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. 1. การเตรียมการ - ชี้แจงแนวทางการดำเนินโครงการเพื่อสร้างความเข้าใจและมีส่วนร่วม 2.ขออนุมัติแต่งตั้งคระกรรมการดำเนินงาน 3. มอบหมายงานของคณะกรรมการแต่ละฝ่าย 4. ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายและส่งใบสมัคร 5. จัดฝึกการอบรมสัมมนา 6. การติดตามและประเมินผลโครงการ รวม

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2555
2556
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.การเตรียมการ - ชี้แจงแนวทางการดำเนินโครงการเพื่อสร้างความเข้าใจและมีส่วนร่วม - --- --- --- 0.00
2.-ขออนุมัติแต่งตั้งคระกรรมการดำเนินงาน -มอบหมายงานของคณะกรรมการแต่ละฝ่าย --- --- --- 5,000.00
3.ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายและส่งใบสมัคร --- - -- --- 25,000.00
4.จัดฝึกการอบรมสัมมนา --- --- - --- 37,000.00
5.การติดตามและประเมินผลโครงการ --- --- --- 1,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 31 สิงหาคม พ.ศ. 2556 รวมเวลา 305 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
8 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
08.30-16.00 - ทฤษฏีของกระบวนการเชื่อมมิก - ทฤษฏีของกระบวนการเชื่อมทิก - ทฤษฏีของกระบวนการเชื่อมใต้ฟลักซ์ 6 ชั่
9 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
08.30-16.00 - ทฤษฏีของกระบวนการเชื่อมพลาสติก - ทฤษฏีของกระบวนการเชื่อมเสียดทาน - เทคโนโลยีการเชื่อมวัสดุนอกกลุ
10 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
08.30-16.00 - ปฏิบัติการเชื่อมมิก ,ปฏิบัติการเชื่อมทิก - ปฏิบัติการเชื่อมพลาสติก - ปฏิบัติการเชื่อมจุด - ปฏ

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -หลังจากกลุ่มเป้าหมายเข้าอบรม เกิดการสร้างงาน สร้างโอกาศในการไปประกอบอาชีพ
ด้านสังคม : -กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ด้านวิศวกรรมเชื่อมประสาน ได้นำไปพัฒนาอาชีพ ให้ให้มีรายได้และการเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
ด้านสิ่งแวดล้อม : -เกิดการอนุรักษ์และใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
30
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
2293.33บาท

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา Basic Manufacturing Workshop
หลักสูตร วศ.บ.
นักศึกษาชั้นปี : นักศึกษาชั้นปีที่ 2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน เช่น ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น / สามารถสอบผ่านในรายวิชา
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด เช่น ร้อยละของนักศึกษาที่มีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ เช่น จำนวนชิ้นงานที่นักศึกษาส่งมาประเมิน ตามใบงานที่กำหนด

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 36,400.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 32,400.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 32,400.00 บาท )
1) จำนวน 3 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
32,400.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 4,000.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 4,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 5 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 8 คน
=
4,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 13,600.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 8,400.00 บาท )
1) จำนวน 3 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 35 คน
=
8,400.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 5,200.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาทำสื่อประชาสัมพันธ์
=
5,200.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 18,000.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 18,000.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
3,000 แผ่น x 0.50 บาท
=
1,500.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
3,000.00 บาท
=
3,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
30 คน x 450.00 บาท
=
13,500.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 68,000.00 บาท