แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2557
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ กลยุทธ์การสร้างคุณภาพ เพื่อเสริมศักยภาพ SMEs
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน หน่วยงานของรัฐ ตลอดจนภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม เพื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม
นโยบาย : โครงการบริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้แก่ชุมชน ร่วมกับภาครัฐ เอกชน
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางสาวบุษกร คำโฮม คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
ประสบการณ์ : หัวหน้างานอาวุโส แผนกผลิต ส่วนงานควบคุมคุณภาพ
ความเชี่ยวชาญ : การพัฒนาคุณภาพ และการเพิ่มผลิตภาพ
หัวหน้าโครงการ
นายศรัณย์ วีสเพ็ญ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต
ประสบการณ์ : โครงการบริการวิชาการ การผลักดันองค์กรด้วยตัวชี้วัดรายบุคคล
ความเชี่ยวชาญ : วิทยากรบรรยายเกี่ยวกับการสร้างทีม การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ให้กับหน่วยงานภาครัฐและแผนกลยุทธ์ให้กับหน่วยงานเอกชน
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวจิตภินันท์ เจริญรุ่งเรือง คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต การกำกับดูแลกิจการ
ประสบการณ์ : อาจารย์ สาขาการจัดการธุรกิจ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ความเชี่ยวชาญ : การบริหารโครงการ การบริหารธุรกิจด้านการเกษตร
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
เนื่องจากผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของสถาบันต่างๆ ในปี 2555 บ่งชี้ว่า ประเทศไทย มีขีดความสามารถในการแข่งขันลดลง เช่น สถาบันการจัดการนานาชาติ (IMD) พบว่า ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 31 ปรับลดลงจากอันดับที่ 27 ในปี 2554 ขณะที่ World Economic Forum (WEF) พบว่า ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 39 เช่นเดียวกับปี 2554 มีปัจจัยหลายอย่างที่ส่งผลต่อขีดความสามารถในการแข่งขันของ SMEs ไทย ดังนั้นจึงจำเป็นต้องส่งเสริมให้ SMEs มีการสร้างความแตกต่าง ผลิตสินค้าที่มีมูลค่าเพิ่มมากขึ้น มีการใช้เทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ การคิดค้นนวัตกรรมในสินค้าและบริการมากขึ้น รวมทั้งพัฒนาผู้ประกอบการ สร้างความเข้มแข็งของเครือข่าย เพื่อเพิ่มผลิตภาพและความสามารถในการแข่งขันที่สูงขึ้น ( www.sme.go.th , 11/9/55 ) การผลิตสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ เป็นการสร้างความแตกต่างที่สำคัญอย่างหนึ่ง เพราะสินค้าและบริการที่มีคุณภาพนั้นนอกจากจะรักษาลูกค้าเก่าไว้แล้วยังทำให้สามารถขยายตลาดได้อีกด้วย กลยุทธ์สร้างคุณภาพจึงถือเป็นกลยุทธ์ที่ทำให้องค์กรเติบโตอย่างยั่งยืนแต่การที่สถานประกอบการจะผลิตสินค้าและบริการที่มีคุณภาพได้นั้นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของพนักงานทุกคน คุณภาพจะเกิดขึ้นไม่ได้หากพนักงานยังมีคุณภาพชีวิตการทำงานที่ ไม่ดีขาดขวัญกำลังใจและแรงจูงใจในการทำงาน ซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากผู้ประกอบการยังไม่ได้ดูแลพนักงานตามสิทธิที่พวกเขาควรได้รับ ซึ่งสิทธิและหน้าที่เหล่านั้นถูกระบุไว้ใน สิทธิและหน้าที่ของลูกจ้าง นายจ้าง ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ดังนั้นก่อนจะสร้างคุณภาพ ผู้ประกอบการควรสร้างความเข้าใจ ความไว้ใจ ขวัญกำลังใจและแรงจูงใจให้กับพนักงานก่อน เมื่อพนักงานซึ่งเป็นทรัพยากรที่สำคัญที่สุดได้รับการดูแลตามสิทธิที่ควรจะได้รับแล้ว เขาเหล่านั้นย่อมจะตอบแทนผู้ประกอบการด้วยการร่วมมือร่วมใจทำงานอย่างเต็มที่ ส่งผลให้สถานประกอบการมีโอกาสก้าวไปสู่องค์กรคุณภาพได้เร็วขึ้น คณะผู้ดำเนินโครงการจึงได้มีแนวคิดจัดทำโครงการ ?เพิ่มศักยภาพ SMEs ด้วยกลยุทธ์การสร้างคุณภาพ? ขึ้นมา โดยมีวัตถุประสงค์ส่งเสริมให้มีผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม มีความรู้ในด้านการบริหารจัดการองค์กรให้เกิดคุณภาพ และการดูแลพนักงานเพื่อส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพ ซึ่งจะสร้างศักยภาพให้ SMEs มีความแตกต่างและแข่งขันได้ต่อไป

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้ประกอบการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ แนวทางการสร้างคุณภาพ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
2.เพื่อให้ผู้ประกอบการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ สิทธิและหน้าที่ของลูกจ้าง นายจ้างตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ผู้ประกอบการ และ พนักงานในสถานประกอบการ SMEs ที่มีความสนใจ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
30 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
- เสนอโครงการ - ประชุมคณะกรรมการ - ประชาสัมพันธ์โครงการ - รับสมัครผู้เข้าอบรม - เตรียมเอกสารการสอน - ดำเนินการอบรม - สรุปโครงการฯ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2556
2557
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ประชุมคณะกรรมการ -- --- --- --- 0.00
2.ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ --- -- --- --- 2,000.00
3.ดำเนินการอบรม --- -- --- --- 61,140.00
4.สรุปผลการดำเนินโครงการ --- -- --- --- 10,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 - 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 รวมเวลา 3 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
08.00-09.00 ลงทะเบียน
1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
9.00-12.00 สิทธิและหน้าที่ของลูกจ้าง นายจ้าง ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 หัวหน้าสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดอุบลราชธานี
1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
13.00-16.00 สิทธิและหน้าที่ของลูกจ้าง นายจ้าง ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 หัวหน้าสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดอุบลราชธานี
14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
14.30-16.00 การจัดการคุณภาพด้วย 5ส และการควบคุมด้วยการมองเห็น ( Visual Control ) อ.บุษกร คำโฮม
14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
13.00-14.00 หลักการบริหารคุณภาพ อ.บุษกร คำโฮม
14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
10.30-12.00 ต้นทุนคุณภาพ อ.บุษกร คำโฮม
14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
09.00-10.30 แนวคิด และ ความสำคัญของคุณภาพ อ.บุษกร คำโฮม
14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
08.00-09.00 ลงทะเบียน
15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
08.00-09.00 ลงทะเบียน
15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
09.00-12.00 เพิ่มคุณภาพด้วยการขจัด ความสูญเปล่า อ.บุษกร คำโฮม
15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
13.00-16.00 กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ อ.บุษกร คำโฮม

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : ผู้เข้าอบรมมีมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ แนวทางการสร้างคุณภาพ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้เพื่อลดต้นทุนได้
ด้านสังคม : ผู้เข้าอบรมมีมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับสิทธิของนายจ้างและลูกจ้างตามและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดความร่วมมือที่ดีในการทำงานได้
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
30
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา การพัฒนาผลิตภาพและคุณภาพ
หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการธุรกิจ
นักศึกษาชั้นปี : 3
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน นักศึกษาสามารถสอบผ่านในรายวิชาร้อยละ 80
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 20,840.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 10,800.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 10,800.00 บาท )
1) จำนวน 3 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
10,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 10,040.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 5,000.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 5 คน
=
5,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 5,040.00 บาท )
1) จำนวน 4 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
5,040.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 45,300.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 4,500.00 บาท )
1) จำนวน 6 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
4,500.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 7,200.00 บาท )
1) จำนวน 3 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
7,200.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 5,400.00 บาท )
- จำนวน 1 คัน x จำนวน 3 วัน x ราคา 1,800 บาท/คัน/วัน
=
5,400.00 บาท

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 28,200.00 บาท )
1) ค่าน้ำมันรถในการติดต่อประสานงานและดำเนินโครงการ(หมาจ่าย)
=
4,500.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาบันทึกข้อมูล พิมพ์รายงานและจัดทำรูปเล่ม
=
4,500.00 บาท
3) ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการบรรยาย( 100 บาท *30 เล่ม)
=
3,000.00 บาท
4) ค่าจ้างเหมานักศึกษาช่วยงาน (200 บาท 2 คน 3 วัน)
=
1,200.00 บาท
5) ค่าเช่าสถานที่อบรม (5,000 บาท 3 วัน )
=
15,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 6,000.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 6,000.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
0 แผ่น x 0.50 บาท
=
0.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
3,000.00 บาท
=
3,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
3,000.00 บาท
=
3,000.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 5,000.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 1,000.00 บาท )
1) ค่าแสตมป์
จำนวน 0 ดวง x ดวงละ 3 บาท
=
0.00 บาท
2) ค่าสาธารณูปโภค
จำนวน 1000 บาท
=
1,000.00 บาท

งบประมาณทั้งสิ้น 73,140.00 บาท