แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2556
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการความก้าวหน้าทางเภสัชศาสตร์และสาธารณสุขการแพทย์ครั้งที่ 1 : ด้านจิตเวช
ลักษณะโครงการ การประชุมวิชาการ สัมมนาเชิงวิชาการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะและบริการสุขภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชน
นโยบาย : โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านสุขภาพ อนามัยของชุมชน
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ยังไม่ได้เพิ่มผู้รับผิดชอบโครงการselect * from response_data rd,user_data ud,education ed,user_tname ut,resp_type rt where (rd.user_id=ud.user_id) and (rd.resp_type_id=rt.resp_type_id) and (ud.tname_id=ut.tname_id) and (ud.edu_id=ed.edu_id) and rd.pro_id=330 order by rd.resp_type_id

หลักการและเหตุผล
ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา องค์กรและหน่วยงานทางด้านสุขภาพ เช่น กระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทย (สธ.) สำนักงานสร้างเสริมสุขภาพแห่งชาติ (สสส.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มีนโยบายสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ เนื่องจากการแก้ปัญหาตั้งแต่สาเหตุนั้นมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากกว่าการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ในปีพ.ศ. 2554 ประเทศไทยได้ประสพปัญหาอุทกภัยครั้งยิ่งใหญ่ ทำให้ประชาชนในเขตจังหวัดต่างๆ ทั้งภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ ภาคตะวันเฉียงเหนือ รวมทั้งจังหวัดอุบลราชธานีได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติดังกล่าว อันส่งผลให้รัฐบาลต้องประกาศภาวะฉุกเฉินเพื่อรองรับและแก้ไขปัญหาอุทกภัย และแต่งตั้งคณะกรรมการต่างๆ เพื่อแก้ไขฟื้นฟูประเทศทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เนื่องจากอุทกภัยที่เกิดขึ้นในครั้งนี้ ก่อให้เกิดความสูญเสียในหลายๆ ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจและด้านสุขภาพ โดยในด้านสุขภาพนั้นอุทกภัยอาจทำให้ประชาชนมีอาการหรือภาวะโรคต่างๆ เกิดขึ้น เช่น ภาวะเครียด ซึมเศร้า โรคท้องเสีย โรคติดเชื้อ ฯลฯ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จึงได้เล็งเห็นความสำคัญของการฟื้นฟูประเทศตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลโดยจัดทำโครงการ ?ภาวะสุขภาพจิตหลังวิกฤติอุทกภัย โรคและยาทางจิตเวช? เนื่องจากประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนจากอุทกภัยนั้นมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดสภาวะเครียดและโรคทางจิตเวท ซึ่งเป็นโรคเรื้อรังที่จำเป็นจะต้องใช้ยาอย่างต่อเนื่องและถูกวิธี เพื่อให้ได้รับผลการรักษาสูงสุด อันจะนำไปสู่การบรรเทาอาการหรือหายขาดจากโรคนั้นๆ หากเป็นในระยแรกๆ ซึ่งจักส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ความรู้แก่บุคลากรทางสาธารณสุขในด้านการคัดกรอง การใช้ยาและผลข้างเคียงของยาทางจิตเวท
2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และการปฏบัติตัวที่ถูกต้องในการป้องกัน รักษา ฟื้นฟูสุขภาพจิต
3.เพื่อสร้างเครือข่ายบุคลากรสาธารณสุขในการดูแลรักษาประชาชนที่มีปัญหาด้านสุขภาพจิตหลังภาวะวิกฤติอุทกภัย

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
- เภสัชกรโรงพยาบาล เภสัชกรชุมชน บุคลากรสาธารณสุข ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ยโสธร ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ สุรินทร์ - นักวิชาการสาธารณสุข และพยาบาล ในเขตจังหวัดในเขตจังหวัดอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ยโสธร ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ สุรินทร์
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
120 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ 2. แผนการดำเนินงาน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2555
2556
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ติดต่อวิทยากร -- --- --- --- 20,000.00
2.ติดต่อสถานที่ พิธีกร -- --- --- --- 30,000.00
3.ประชาสัมพันธ์ - -- --- --- 15,000.00
4.จัดทำเอกสาร --- --- --- 16,400.00
5.จัดประชุม --- -- --- --- 100,000.00
6.ประเมินผล --- -- --- --- 2,500.00
7.สรุปผล --- --- -- --- 2,500.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2556 รวมเวลา 2 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
0 พ.ศ. 543
15.30 - 16.30 น. Update on drug-drug interaction in psychiatry ดร.สุทธาสินี สุวรรณกุล และ ผศ.ดร.น้องเล็ก คุณวราดิศัย
0 พ.ศ. 543
14.30 - 15.30 น. Review of antipsychotics induced hematologic disorders อ.มานิตย์ แซ่เตียว
0 พ.ศ. 543
14.15 - 14.30 น. รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
0 พ.ศ. 543
13.15 - 14.15 น. โรคติดสุราเรื้อรังและแนวทางการศึกษา นายแพทย์โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์
0 พ.ศ. 543
12.15 - 13.15 น. รับประทานอาหารกลางวัน
0 พ.ศ. 543
10.15 - 12.15 น. ADHD ยารักษาอาการและการติดตามผลการรักษาและอาการข้างเคียง ภญ.ธีรารัตน์ แทนขำ โรงพยาบาลยุวประสาท
0 พ.ศ. 543
10.00 - 10.15 น. รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
0 พ.ศ. 543
09.00 - 10.00 น. โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้วและแนวทางการรักษา นายแพทย์โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์
0 พ.ศ. 543
15.30 - 16.30 น. review of antipsychotics induced cardiotoxicity ดร.พีรวัฒน์ จินาทองไทย
0 พ.ศ. 543
14.30 - 15.30 น. ยารักษาอาการทางจขิตและการติดตามผลการรักษาและอาการข้างเคียง อ.ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์
0 พ.ศ. 543
14.15 - 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
0 พ.ศ. 543
08.45 - 09.00 น. พิัธีเปิดงานประชุม โดย คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ ม.อุบลราชธานี
0 พ.ศ. 543
09.00 - 10.00 น. สถานการณ์และระบาดวิทยาภาวะการเจ็บปวยทางจิต ผอ.โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์
0 พ.ศ. 543
10.00 - 10.15 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
0 พ.ศ. 543
10.15 - 11.15 น. โรคจิตเภท การวินิจฉัยอาการและอาการแสดงของโรค นายแพทย์โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์
0 พ.ศ. 543
11.15 - 12.15 น. ยารักษาอาการทางจิตและการติดตามผลการรักษาและอาการข้างเคียง อ.ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์
0 พ.ศ. 543
12.15 - 13.15 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน : อภิปรายรูปแบบการจัดตั้งคลินิกจิตเวช เภสัชกรจาก 1. โรงพยา่บา่ลพระศรีมหาโพธิ์ 2. โรงพยาบาลศูนย์ 3. โรงพยาบาลชุมชน
0 พ.ศ. 543
13.15 - 14.15 น. โรคซึมเศร้า การวินิจฉัยอาการและอาการแสดงของโรค นายแพทย์โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์
21 มีนาคม พ.ศ. 2556
08.30 - 08.45 น. ลงทะเบียน
22 มีนาคม พ.ศ. 2556
08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : เภสัชกร และบุคลากรทางสาธารณสุขได้รับความรู้ใหม่ๆ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการคัดกรอง การดูแลรักษาประชาชน ทำให้ประชาชนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี อันจะส่งผลให้สามารถดำรงชีวิตอย่างผาสุก เพิ่มการพึ่งพาตนเอง สามารถทำงานได้ อันจะนำไปสู่การเสริมสร้างเศรษฐกิจของครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่น และประเทศชาติตามลำดับ
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
120
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา เภสัชบำบัด
หลักสูตร เภสัชศาสตร์บัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : 4 และ 5
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละของนักศึกษาทีไ่ด้รับความรู้เพิ่มขึ้น/สามารถสอบผ่านในรายวิชา
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 13,800.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 7,800.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 7,800.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 1 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 5 คน
=
6,000.00 บาท
2) จำนวน 2 วัน x จำนวน 1 ชม. x ชม.ละ 300.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
1,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 6,000.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 6,000.00 บาท )
1) จำนวน 3 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
6,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 140,800.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 18,800.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 14,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 ครั้ง x จำนวน 2 คน x ครั้งละ 7,000.00 บาท
=
14,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 4,800.00 บาท )
1) จำนวน 2 คืน x จำนวน 2 ห้อง x ห้องละ 1,200.00 บาท
=
4,800.00 บาท
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 24,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 120 คน
=
24,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 72,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 300.00 บาท x จำนวน 120 คน
=
72,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 26,000.00 บาท )
1) ค่าเช่าห้องประชุม
=
12,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการประชุม
=
12,000.00 บาท
3) ค่าจ้างเหมาจัดทำรูปเล่มรายงานผลการดำเนินงาน
=
2,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 26,800.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 10,000.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
0 แผ่น x 0.50 บาท
=
0.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
5,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
5,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 5,000.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 16,800.00 บาท )
1) ค่ากระเป๋าประกอบการจัดประชุม
=
16,800.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 181,400.00 บาท