แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2556
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการชีวเภสัชศาสตร์สัญจร : การสร้างเสริมสุขภาพในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ที่อยู่ในการดูแลของกองกำกับการตำรวจตระเวณชายแดนที่ 22
ลักษณะโครงการ การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : เสริมสร้างความเข้มแข็งของการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่เป้าหมาย เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและชุมชน
นโยบาย : โครงการพระราชดำริในการพัฒนาการศึกษาแก่โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ยังไม่ได้เพิ่มผู้รับผิดชอบโครงการselect * from response_data rd,user_data ud,education ed,user_tname ut,resp_type rt where (rd.user_id=ud.user_id) and (rd.resp_type_id=rt.resp_type_id) and (ud.tname_id=ut.tname_id) and (ud.edu_id=ed.edu_id) and rd.pro_id=365 order by rd.resp_type_id

หลักการและเหตุผล
ความรู้และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดูแลรักษาสุขภาพ การป้องกันโรค การใช้ยา และสร้างเสริมสุขภาพของตนเองให้ดีขึ้นเพื่อให้มีสภาวะแห่งความสมบูรณ์ทั้งร่างกายจิตใจและและสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีสุข นับว่าเป็นปัจจัยพื้นฐานในการดูแลสุขภาพและมีความสำคัญยิ่งต่อคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน คณะเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เป็นคณะวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพคณะแรกของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีมีความพร้อมในด้านบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ โดยมีพันธกิจสำคัญในการพัฒนาองค์กรให้เป็นแหล่งความรู้ ให้บริการวิชาการ ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น เพื่อนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีตระหนักถึงความสำคัญของการเสริมสร้างความเข้มแข็งบทบาทของชุมชน การสร้างเสริมสุขภาพสู่ชุมชนโดยเสริมบทบาทของโรงเรียนให้มีส่วนร่วมรับผิดชอบเรื่องสุขภาพมากขึ้น และส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมสุขภาพของโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการ ชีวเภสัชศาสตร์สัญจร : การสร้างเสริมสุขภาพในโรงเรียนเครือข่าย ม.ทราย ขึ้นโดยคณาจารย์กลุ่มวิชาชีวเภสัชศาสตร์ร่วมกับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ชั้นปีที่ 3 ให้บริการวิชาการทางด้านสุขภาพผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ที่สร้างความสัมพันธ์อันดีแก่โรงเรียนในเครือข่ายของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเป็นโครงการต่อเนื่องมานานกว่า 3 ปี ดังนั้น ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 นี้ ทางกลุ่มวิชาชีวเภสัชศาสตร์จึงปรับเปลี่ยนกลุ่มเป้าหมายจากโรงเรียนเครือข่ายมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ไปเป็นโรงเรียนตำรวจตระเวณชายแดน ที่อยู่ในการดูแลของกองกำกับการตำรวจตระเวณชายแดนที่ 22 ทั้งนี้เพื่อเป็นการสนองแนวนโยบายตามพระราชดำริและขยายโอกาสการเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ทางด้านสุขภาพแก่โรงเรียนซึ่งอยู่ห่างไกล และเพื่อการส่งเสริมและเผยแพร่แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพให้นักเรียนและประชาชนให้ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของตนเองก่อนการใช้ยา และได้รับความรู้ด้านสุขภาพเพื่อนำไปในชีวิตประจำวันในการดูแลสุขภาพ ป้องกันโรค และการลดความรุนแรงของโรคเพื่อเป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนต่อไป

วัตถุประสงค์
1.เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพให้นักเรียนในโรงเรียนตำรวจตระเวณชายแดน ที่อยู่ในการดูแลของกองกำกับการตำรวจตระเวณชายแดนที่ 22
2.เพื่อให้ประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณรอบโรงเรียนได้รับความรู้ด้านสุขภาพ มีส่วนร่วมในการแสดงความเห็น และสอบถามปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพและการใช้ยา
3.เพื่อให้นักศึกษาคณะเภสัชศาสตร์ได้เรียนรู้สภาพปัญหาที่แท้จริงในชุมชนและสามารถวางแผนแก้ไขได้

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ถึงชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 6 ของโรงเรียนตำรวจตระเวณชายแดน ที่อยู่ในการดูแลของกองกำกับการตำรวจตระเวณชายแดนที่ 22 จำนวน 1-2 แห่ง 2. ประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณรอบโรงเรียนตำรวจตระเวณชายแดน ที่อยู่ในการดูแลของกองกำกับการตำรวจตระเวณชายแดนที่ 22 3. บุคคลทั่วไปที่สนใจรับข่าวสารข้อมูล และร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับสุขภาพ 4. นักศึกษาคณะเภสัชศาสตร์ชั้นปีที่ 3 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาสัมมนาทางเภสัชวิทยา 1 และ/หรือสัมมนาทางเภสัชวิทยา
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
120 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. เสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณ 2. ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน 3. จัดอบรมเสริมทักษะและสร้างแนวคิดด้านการสร้างเสริมสุขภาพให้แก่นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาสัมมนาทางเภสัชวิทยา 1 และ/หรือสัมมนาทางเภสัชวิทยา 2 จำนวน 2 ครั้ง 4. จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานและนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการเพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการวางแผนการดำเนินกิจกรรม 5. สำรวจพื้นที่ ติดต่อ ประสานงาน โรงเรียนตำรวจตระเวณชายแดน ที่อยู่ในการดูแลของกองกำกับการตำรวจตระเวณชายแดนที่ 22 6. กำหนดผู้รับผิดชอบการอบรมและประสานงานกับวิทยากร 7. ผลิตสื่อเพื่อจัดนิทรรศการที่ใช้เพื่อการอบรมการสร้างเสริมสุขภาพ ได้แก่ สุขอนามัยเบื้องต้น ไข้หวัดนก การล้างมือที่ถูกต้อง โรคท้องร่วง การดูแลรักษาฟัน การรักษาเบื้องต้นที่โรงเรียน การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การใช้ยาสามัญประจำบ้าน สมุนไพรสาธารณสุขมูลฐาน 8. ประชาสัมพันธ์นักเรียนและประชาชนที่อยู่บริเวณรอบโรงเรียนตำรวจตระเวณชายแดน ที่อยู่ในการดูแลของกองกำกับการตำรวจตระเวณชายแดนที่ 22 9. อบรมการสร้างเสริมสุขภาพ สุขอนามัย ความรู้พื้นฐานของการใช้ยา แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 10. การร่วมตอบปัญหาสุขภาพ ชิงรางวัล 11. การตรวจสุขภาพเบื้องต้น เช่น วัดความดัน วัดสายตา ประเมินภาวะโภชนาการ ฯลฯ สำหรับ นักเรียนประชาชนและผู้สนใจ 12. การให้คำแนะนำเกี่ยวกับห้องพยาบาล การจัดการให้บริการและการดูแลห้องพยาบาล ตู้ยาประจำโรงเรียนแก่ครูสุขศึกษาประจำโรงเรียนตำรวจตระเวณชายแดน ที่อยู่ในการดูแลของกองกำกับการตำรวจตระเวณชายแดนที่ 22 13. จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานและนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการเพื่อร่วมแลกเปลี่ยนประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2555
2556
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.เสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณ และแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน - --- --- --- 0.00
2.จัดอบรมเสริมทักษะและสร้างแนวคิดด้านการสร้างเสริมสุขภาพให้แก่นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา สัมมนาทางเภสัชวิทยา 1 และ/หรือ สัมมนาทางเภสัช - -- --- --- 15,100.00
3.จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานและนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการเพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการวางแผนการดำเนินกิจกรรม -- --- --- --- 13,300.00
4.สำรวจพื้นที่ ติดต่อ ประสานงาน โรงเรียน - -- --- --- 4,620.00
5.ผลิตสื่อและจัดเตรียมนิทรรศการที่ใช้เพื่อการอบรมการสร้างเสริมสุขภาพ -- -- --- --- 12,000.00
6.ประชาสัมพันธ์นักเรียนและประชาชนที่อยู่บริเวณรอบโรงเรียนเครือข่ายมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี - -- --- --- 1,135.00
7.อบรมการสร้างเสริมสุขภาพ สุขอนามัย ความรู้พื้นฐานของการใช้ยา แก่นักเรียน - การร่วมตอบปัญหาสุขภาพ ชิงรางวัล - สุขอนามัยเบื้องต้น โรคท้องร่วง ไข้หวัดน --- - --- --- 51,845.00
8.ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน --- --- 2,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 0 พ.ศ. 0 - 0 พ.ศ. 0 รวมเวลา 1 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
0 พ.ศ. 543
08.30-09.00 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ
0 พ.ศ. 543
09.00-09.30 น. ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของโครงการ หัวหน้ากลุ่มวิชาชีวเภสัชศาสตร์ และคณาจารย์กลุ่มวิชาชีวเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์
0 พ.ศ. 543
09.30-11.30 น. กิจกรรมซุ้มนิทรรศการ - สุขอนามัยและการดูแลรักษาฟัน - การรักษาพยาบาลเบื้องต้นและการตรวจสุขภาพเบื้อ คณาจารย์กลุ่มวิชาชีวเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ นักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 3
0 พ.ศ. 543
11.30-12.15 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
0 พ.ศ. 543
12.15-16.15 น. กิจกรรมซุ้มนิทรรศการ - ไข้หวัดและการดูแลเบื้องต้น - โรคท้องร่วง - ยาสามัญประจำบ้าน - สมุนไพรในง คณาจารย์กลุ่มวิชาชีวเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ นักศึกษาเภสัชศาสตร์ ชั้นปีที่ 3
0 พ.ศ. 543
16.15-16.30 น. ทำแบบประเมินความพึงพอใจ
0 พ.ศ. 543
16.30-16.45 น. พิธีปิด และการมอบสื่อสร้างเสริมสุขภาพเพื่อเก็บไว้ใช้ในโรงเรียนและชุมชน

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : -
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
100
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
-0
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา สัมมนาทางเภสัชวิทยา 1 และ/หรือสัมมนาทางเภสัชวิทยา 2
หลักสูตร เภสัชศาสตรบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : 3
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด - ร้อยละ 80 ของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนมีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการ - ร้อยละ 80 ของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการสามารถสอบผ่านในรายวิชา
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 17,400.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 17,400.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 17,400.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 600 ชม. x ชม.ละ 2.00 บาท x จำนวน 13 คน
=
15,600.00 บาท
2) จำนวน 1 วัน x จำนวน 600 ชม. x ชม.ละ 1.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
1,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 82,000.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 14,240.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 8,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 ครั้ง x จำนวน 100 คน x ครั้งละ 80.00 บาท
=
8,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 6,240.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 13 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
6,240.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 17,300.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 133 คน
=
6,650.00 บาท
2) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 213 คน
=
10,650.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 35,925.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 75.00 บาท x จำนวน 133 คน
=
19,950.00 บาท
2) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 75.00 บาท x จำนวน 213 คน
=
15,975.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 14,535.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์และจัดนิทรรศการ
=
12,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาจัดทำสรุปรายงานผลการดำเนินงาน
=
2,535.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 11,000.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 8,000.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
0 แผ่น x 0.50 บาท
=
0.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
5,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
3,000.00 บาท
=
3,000.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 5,000.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 3,000.00 บาท )
1) ค่าวัสดุึคอมพิวเตอร์
=
3,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 110,400.00 บาท