แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2557
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ อบเชิงปฏิบัติการเขียนโปรแกรมควบคุ่มหุ่นยนต์และเซนเซอร์ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ รุ่นที่ 6
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : เสริมสร้างความเข้มแข็งของการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่เป้าหมาย เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและชุมชน
นโยบาย : บริการวิชการด้านอื่นๆ : โครงการบริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้แก่ชุมชน ร่วมกับภาครัฐ เอกชน
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายผดุง กิจแสวง คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
ประสบการณ์ : วิจัยและสอนปฏิบัติการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 18 ปี
ความเชี่ยวชาญ : - Microcontroller application - Embebded system - PLC application - Electrical Machine Drive and Control
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันวิวัฒนาการทางด้านหุ่นยนต์ของโลกได้ก้าวล้ำหน้าไปอย่างมาก หุ่นยนต์ได้ถูกสร้างให้มีความสามารถในระดับที่ทำงานร่วมกับมนุษย์ หรืออาจจะทำงานแทนมนุษย์ได้ในบางกรณี ประเทศที่พัฒนาแล้ว จะมุ่งเน้นความสำคัญในเทคโนโลยีดังกล่าว เนื่องจากเป็นหัวใจหลักในการพัฒนาระบบอุตสาหกรรมอื่นๆ สำหรับประเทศไทย ได้มีการตระหนักถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีหุ่นยนต์ที่เพิ่มขึ้นจากในอดีต ดังจะเห็นได้จากผลงานทางด้านหุ่นยนต์ที่มีต่อทุกสาขาอาชีพ เช่น แขนกลในโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ทาง คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้เล็งเห็นความสำคัญของเทคโนโลยีทางด้านหุ่นยนต์ จึงจัดอบรมโครงการเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์และเซนเซอร์ด้วยขึ้น เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้ครูและนักเรียนได้มีโอกาสพัฒนาทักษะการเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์คอมพิวเตอร์และสามารถนำความรู้ไปต่อยอดในการสร้างหุ่นยนต์ระบบงานควบคุมอัตโนมัติโดยใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ วิชาการด้านหุ่นยนต์นั้นเป็นบูรณาการศาสตร์ เป็นการหลอดรวมความรู้ ด้านอิเล็กทรอนิกส์ ดิจิตอลไมโครโปรเซสเซอร์ และเซนเซอร์ ด้านระบบควบคุม และด้านกลศาสตร์ ซึ่งนักประดิษฐ์หุ่นยนต์ต้องมีความรู้ทั้งสามด้านดังกล่าวเป็นอย่างดีจึงสามารถพัฒนาต่อยอดออกแบบหุ่นยนต์ได้ดี ที่สามารถทำงานได้ตามคำสั่งและบรรลุวัตถุประสงค์ตามต้องการ นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างเครือข่ายทางวิชาการกับหน่วยงานภายนอกในการจัดกิจกรรมร่วมกันและเป็นการประชาสัมพันธ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้นในกลุ่มของโรงเรียนภายในจังหวัดอุบลราชธานี

วัตถุประสงค์
1.เพื่อเป็นการขยายโอกาสให้กับครู-นักเรียนระดับมัธยมศึกษาและอาชีวศึกษาภายในจังหวัดอุบลราชธานีที่มีความสนใจ ได้เข้ามาศึกษาและเรียนรู้เทคโนโลยีด้านหุ่นยนต์ระบบควบคุมอัตโนมัติ
2.เพื่อกระตุ้นให้ครู นักเรียน นักศึกษาเกิดความสนใจและจุดประกายแนวความคิดสร้างสรรค์ในเทคโนโลยีด้านหุ่นยนต์ เพื่อสามารถนำไปต่อยอดในการสร้างหุ่นยนต์เพื่อเข้าร่วมแข่งขันในการแข่งขันระดับต่างๆต่อไปได้
3.เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้นในกลุ่มของโรงเรียนภายในจังหวัดอุบลราชธานี
4.นักเรียนที่ร่วมโครงการสามารถนำความรู้ความสามารถที่ได้สร้างหุ่นยนต์เพื่อเข้าแข่งขันในงานถนนเทคโนโลยี ของคณะวิศวกรรมศาสตร์

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ครู-อาจารย์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตพื้นที่รับชอบมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณาจารย์และนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
40 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
กิจกรรมและวิธีดำเนินการ 1. เสนอโครงการ 2. อนุมัติโครงการ 3. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานฯ 4. ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 5. รับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ 6. คณะกรรมการพิจารณาตัดสินหัวข้อโครงงานที่เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ 7. ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากร 8. จ้างเหมาสร้างชุดฝึกทดลอง 9. จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ 10. ประเมินผลโครงการฯหลังการอบรมรอบที่ 11. สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2556
2557
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.เสนอโครงการ --- --- --- 0.00
2.ขออนุมัติดำเนินโครงการ -- - --- --- 95,100.00
3.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานฯ --- --- --- 0.00
4.ประชาสัมพันธ์โครงการฯ --- -- - 0.00
5.รับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ --- --- - 0.00
6.ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากร --- --- -- - 0.00
7.จัดซื้อวัสดุ / เตรียมอุปกรณ์ สร้างชุดทดลอง --- --- -- - 0.00
8.จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ --- --- --- - 0.00
9.ประเมินผลโครงการฯ --- --- --- - 0.00
10.สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ --- --- --- - 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2557 - 5 สิงหาคม พ.ศ. 2557 รวมเวลา 2 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
0 พ.ศ. 543
16.00 – 16.30 น. มอบประกาศนียบัตร และพิธีปิด นายสมนึก, นายผดุง,นายราเชนทร์, นายวิชชุกร
0 พ.ศ. 543
13.00 – 14.30 น. การเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมหุ่นยนต์ นายสมนึก, นายผดุง,นายราเชนทร์, นายวิชชุกร
0 พ.ศ. 543
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง
0 พ.ศ. 543
10.20 – 12.00 น. การเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมหุ่นยนต์ นายสมนึก, นายผดุง,นายราเชนทร์, นายวิชชุกร
0 พ.ศ. 543
10.00 – 10.20 น. รับประทานอาหารว่าง
0 พ.ศ. 543
14.30 – 16.00 น. การเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมหุ่นยนต์และเทคนิคการตรวจสอบระบบควบคุมการทำงานของหุ่นยนต์ นายสมนึก, นายผดุง,นายราเชนทร์, นายวิชชุกร
0 พ.ศ. 543
14.50 – 16.-0 น. การเชื่อมต่อและการเขียนโปรแกรมควบคุมไมโครคอนโทรลเลอร์ติดต่ออินพุตเซนเซอร์ นายสมนึก, นายผดุง,นายราเชนทร์, นายวิชชุกร
0 พ.ศ. 543
14.30 – 14.50 น. รับประทานอาหารว่าง
0 พ.ศ. 543
12.00 – 14..30 น. สถาปัตยกรรมไมโครคอนโทรลเลอร์ และการพัฒนา การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาซี นายสมนึก, นายผดุง,นายราเชนทร์, นายวิชชุกร
0 พ.ศ. 543
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง
0 พ.ศ. 543
10.00 – 12.00 น. เทคโนโลยีการควบคุมหุ่นยนต์อัตโนมัติและการออกแบบ รศ. อุทัย
0 พ.ศ. 543
09.00 – 10.00 น. พิธีเปิด สมนึก
0 พ.ศ. 543
14.30 – 14.50 น. รับประทานอาหารว่าง นายสมนึก, นายผดุง,นายราเชนทร์, นายวิชชุกร
4 สิงหาคม พ.ศ. 2557
08.00 – 09.00 น. ลงทะเบียน สมนึก
5 สิงหาคม พ.ศ. 2557
08.30 – 10.30 น. การเชื่อมต่อและการเขียนโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุมมอเตอร์และเซนเซอร์ นายสมนึก, นายผดุง,นายราเชนทร์, นายวิชชุกร

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : -1. สามารถขยายโอกาสในการเข้าถึงเทคโนโลยีด้านหุ่นยนต์ที่ควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ ให้กับโรงเรียนมัธยมศึกษาและอาชีวศึกษาภายในจังหวัดอุบลราชธานี 2. เป็นการเสริมสร้างให้ ครู นักเรียนมีการประยุกต์ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์กับเซนเซอร์และการทดลองหุ่นยนต์และเกิดความตื่นตัวในเทคโนโลยีด้านนี้มากขึ้น 3. ครู นักเรียน นักศึกษา ที่ร่วมโครงการมีความรู้ทางเกี่ยวกับเทคโนโลยีด้านหุ่นยนต์ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ในการสร้าง ปรับปรุงพัฒนาและแก้ไขข้อบกพร่องของหุ่นยนต์ที่ตนเองสร้างขึ้นมาได้ 4. เกิดความร่วมมือทางวิชาการและการจัดกิจกรรมร่วมกัน ระหว่างคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
32
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
2379.25

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา 1306 341 ปฏิบัติการดิจิตอลและการออกแบบ
หลักสูตร วิศวกรรมสาสตร์บัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : 3
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อย 80 ของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด นักศึกษาร้อยละ 10 มีส่วนรวมในโครงการ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ มีนักศึกษาทำโครงงานด้านไมโครคอนโทรลเลอร์อย่างน้อย 5 โครงงาน

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 30,440.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 23,400.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 23,400.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
1,800.00 บาท
2) จำนวน 1 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
7,200.00 บาท
3) จำนวน 1 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
14,400.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 7,040.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 2,000.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
2,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 5,040.00 บาท )
1) จำนวน 4 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
5,040.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 22,100.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 6,000.00 บาท )
1) จำนวน 6 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 40 คน
=
6,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 9,600.00 บาท )
1) จำนวน 3 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 40 คน
=
9,600.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 6,500.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาทำป้ายผ้าไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ 4 แผ่น x 500
=
2,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการฝึกอบรม 45 เล่ม x 100
=
4,500.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 42,560.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 42,560.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
0 แผ่น x 0.50 บาท
=
0.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
5,060.00 บาท
=
5,060.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
15 คน x 2,500.00 บาท
=
37,500.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 95,100.00 บาท