แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2557
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ การประยุกต์ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์กับโครงงานวิทยาศาสตร์รุ่นที่ 5
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : พัฒนาระบบและกลไกการบริหารงานบริการวิชาการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดการบูรณาการกับการวิจัยและการเรียนการสอน
นโยบาย : บริการวิชการด้านอื่นๆ : โครงการพัฒนาการศึกษากลุ่มโรงเรียนมัธยมในเขตพื้นที่อีสานใต้
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายอุทัย สุขสิงห์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : RS & GIS
ประสบการณ์ : อาจารย์สอนในมหาวิทยาลัย 30 ปี
ความเชี่ยวชาญ : GIS Electronic Programcomputer Microcontrol
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
ในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจำเป็นอย่างยิ่งต้องมีการทดลองเพื่อพิสูจน์สมมุติฐานเครื่องมืออุปกรณ์ที่มีความถูกต้องแหม่นยำจะมีราคาค้อนข้างสูง ทำให้โรงเรียนที่มีงบประมาณไม่มากไม่สามารถมีเครื่องมือดังกล่าวใช้ในการทดลองได้ เป็นผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะผู้รับผิดชอบโครงการได้เร่งเห็นความสำคัญดังกล่าวจึงได้เสนอโครงการบริการ อบรมเชิงปฏิบัติการการประยุกต์ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์กับโครงงานวิทยาศาสตร์ขึ้น เพื่อเป็นเครื่องมือที่ราคาถูกมีความถูกต้องแหม่นยำ ที่ใช้ในการทดลองและสร้างโครงงานวิทยาศาสตร์ เป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาให้กับนักเรียนที่มีความสนใจได้เรียนรู้เทคโนโลยีด้านนี้ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนให้เกิดความสนใจและจุดประกายแนวความคิดในด้านเทคโนโลยีด้านการประยุกต์ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์และนำความรู้ต่อยอดกับการสร้างโครงงานวิทยาศาสตร์เป็นการบูรณาการศาสตร์เป็นการหลอดความรู้ด้านอิเล็กทรอนิกส์ ดิจิตอล ไมโครคอนโทรลเลอร์ เซนเซอร์และระบบควบคุมอัตโนมัติ เป็นการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสืบเนื่องจากภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้จัดโครงการบริการวิชาการการประยุกต์ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์กับโครงงานวิทยาศาสตร์รุ่นที่ 1-4 ที่ผ่านมานั้นสำเร็จลุล่วงด้วยดี ได้การตอบรับจากคณะครูอาจารย์ นักเรียนในจังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดเขตพื้นที่รับผิดชอบของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีจำนวนมาก นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างเครือข่ายทางวิชาการกับหน่วยงานภายนอกในการจัดกิจกรรมร่วมกันและเป็นการประชาสัมพันธ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้นในกลุ่มของโรงเรียนภายในจังหวัดอุบลราชธานี

วัตถุประสงค์
1.เพื่อเป็นการขยายโอกาสให้กับครู-นักเรียนระดับมัธยมศึกษาและอาชีวศึกษาภายในจังหวัดอุบลราชธานีที่มีความสนใจ ได้เข้ามาศึกษาและเรียนรู้การสร้างโครงงานวิทยาศาสตร์ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์
2.เพื่อกระตุ้นให้ครู-นักเรียน นักศึกษาเกิดความสนใจและจุดประกายแนวความคิดสร้างสรรค์ด้านการสร้างโครงงานวิทยาศาสตร์ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์
3.นักเรียน- นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการนำความรู้สร้างโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์เพื่อแข่งขันในงานถนนเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ครู-นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาเขตพื้นที่รับผิดชอบมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (อีสานใต้) ครู-อาจารย์ นักศึกษาอาชีวศึกษาภายในจังหวัดอุบลราชธานี คณาจารย์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์และคณะวิทยาศาสตร์ นอกมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
50 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1.เสนอโครงการ 2.อนุมัติโครงการ 3.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานฯ 4.ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 5.รับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ นักเรียน-นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการต้องส่งหัวข้อโครงงานตามโจทย์ที่คณะกรรมการกำหนด 6.คณะกรรมการพิจารณาตัดสินหัวข้อโครงงานที่เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ 7.ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากร 8.จัดซื้อวัสดุและจ้างเหมาประกอบชุดฝึกทดลอง 9.จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ 10.ประเมินผลโครงการฯหลังการอบรมรอบที่ 1 11.ประเมินผลโครงการฯหลังการอบรมรอบที่ 2 12.สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2556
2557
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.เสนอโครงการ - --- --- --- 0.00
2.อนุมัติโครงการ - --- --- --- 0.00
3.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานฯ - --- --- --- 0.00
4.ประชาสัมพันธ์โครงการฯ - -- --- --- 100,000.00
5.รับสมัครผู้เข้าร่วมการอบรมโครงการฯ -- -- --- --- 0.00
6.ติดต่อผู้เข้าร่วมฝึกอบรมและวิทยากร -- - --- --- 0.00
7.จ้ดซื้อวัสดุฝึกและจ้างเหมาสร้างชุดฝึกทดลองบ้างส่วน - - --- --- 0.00
8.จัดฝึกอบรมตามโครงการฯ --- -- --- --- 0.00
9.ประเมินผลโครงการฯหลังการอบรมรอบที่ 1 --- -- --- --- 0.00
10.สรุปและจัดทำรายงานของโครงการฯ --- -- -- --- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 รวมเวลา 3 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
0 พ.ศ. 543
16.00-16.30 มอบประกาศนียบัตร และพิธีปิด หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าฯ
0 พ.ศ. 543
12.00-13.00 รับประทานอาหารเที่ยง
0 พ.ศ. 543
13.00-14.20 การเขียนโปรแกรม วัดความเร็ว แรงกด วัดระดับสี เสียง นายสมนึก เวียนวัฒนชัย/นายธนกร ลิ้มสุวรรณ/นายผดุง กิจแสวง
0 พ.ศ. 543
14.20-14.40 รับประทานอาหารว่าง
0 พ.ศ. 543
14.40-16.00 เขียนโปแกรมรับข้อมูลจากเซนเซอร์ตรวจจับควันและจับแก็สชนิดต่างๆและระบบแจ้งเตือนภัย นายสมนึก เวียนวัฒนชัย/นายธนกร ลิ้มสุวรรณ/นายผดุง กิจแสวง
0 พ.ศ. 543
10.20-10.40 รับประทานอาหารว่าง
0 พ.ศ. 543
10.40-12.00 สร้างโครงงานวิทยาศาสตร์ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่อประหยัดพลังงานไฟฟ้า นายผดุง กิจแสวง/นายสมนึก เวียนวัฒนชัย/นายธนกร ลิ้มสุวรรณ
0 พ.ศ. 543
12.00-13.00 รับประทานอาหารเที่ยง
0 พ.ศ. 543
13.00-14.20 สร้างโครงงานวิทยาศาสตร์ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่ออำนวยสะดวกในบ้านและเตือนภัย นายผดุง กิจแสวง/นายสมนึก เวียนวัฒนชัย/นายธนกร ลิ้มสุวรรณ
0 พ.ศ. 543
10.40-12.00 การเขียนโปรแกรมรับข้อมูลจากเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ,ความชื้น,แสง นายสมนึก เวียนวัฒนชัย/นายธนกร ลิ้มสุวรรณ/นายผดุง กิจแสวง
0 พ.ศ. 543
10.20-10.40 รับประทานอาหารว่าง
0 พ.ศ. 543
14.40.16.00 การเขียนโปรแกรมควบคุมความแสงและความสว่าง นายธนกร ลิ้มสุวรรณ/นายผดุง กิจแสวง/นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
0 พ.ศ. 543
14.20-14.40 รับประทานอาหารว่าง
0 พ.ศ. 543
13.00-14.20 การเขียนโปรแกรมติดต่อและควบคุมรีเลย์และควบคุมมอเตอร์ นายธนกร ลิ้มสุวรรณ/นายผดุง กิจแสวง/นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
0 พ.ศ. 543
12.00-13.00 รับประทานอาหารเที่ยง
0 พ.ศ. 543
08.30-09.00 พิธีเปิด คณบดีคณะวิศวฯ
0 พ.ศ. 543
10.20-12.00 โครงสร้างไมโครคอนโทรลเลอร์และการพัฒนา การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาซีเพื่อพัฒนา การเขียนโปรแรกมติด นายธนกร ลิ้มสุวรรณ/นายผดุง กิจแสวง/นายสมนึก เวียนวัฒนชัย
0 พ.ศ. 543
10.00-10.20 รับประทานอาหารว่าง
0 พ.ศ. 543
09.00-10.00 เทคโนโลยีและความก้าวหน้าเทคโนโลยีไมโครคอนโทรลเลอร์ และโครงงานวิทยาศาสตร์ รศ.อุทัย สุขสิงห์
22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
08.30-10.20 การเขียนโปรแกรมควบคุมแสดงผลบนแอลซีดีกราฟฟิก (GLCD) นายสมนึก เวียนวัฒนชัย/นายธนกร ลิ้มสุวรรณ/นายผดุง กิจแสวง
23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
08.30-09.00 สร้างโครงงานวิทยาศาสตร์ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่อระบบความคุมอัตโนมัติและระบบสื่อสารไร้สาย นายผดุง กิจแสวง/นายสมนึก เวียนวัฒนชัย/นายธนกร ลิ้มสุวรรณ
21 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
08.00-08.30 ลงทะเบียน

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : 1.เป็นการเสริมสร้างให้ครู-นักเรียนมีการประยุกต์ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์แก้ปัญหาการทดลองทางวิทยาศาสตร์และเกิดการตื่นตัวในด้านเทคโนโลยีด้านนี้มากขึ้น2.สามารถให้ครู-2.นักเรียนที่สนใจเข้าร่วมโครงการเพื่อลดช่องว่างของความเหลื่อมล้ำทางด้านเทคโนโลยีของโรงเรียนในเขตอีสานใต้ 3.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ด้านการสร้างโครงงานวิทยาศาสตร์ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์เพิ่มขึ้น 4.เกิดความร่วมมือทางวิชาการและการจัดกิจกรรมร่วมกัน ระหว่างคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในเขตอีสานใต้
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
40
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
2000 บาท/คน

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา ไมโครคอนโทรลเลอร์
หลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
นักศึกษาชั้นปี : 3
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละ 80 ของนักศึกษาที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น / สามารถสอบผ่านในรายวิชา
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด ร้อยละ 10 ของนักศึกษาที่มีส่วนร่วมในโครงการให้บริการวิชาการ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ จำนวนโครงงานของนักศึกษาที่ได้จากการบริการวิชาการอย่างน้อย 5 โครงงาน

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 48,800.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 39,600.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 39,600.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
1,800.00 บาท
2) จำนวน 1 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
5,400.00 บาท
3) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
21,600.00 บาท
4) จำนวน 1 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
10,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 9,200.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 5,000.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 5 คน
=
5,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 4,200.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 5 คน
=
4,200.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 24,500.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 7,500.00 บาท )
1) จำนวน 6 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
7,500.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 12,000.00 บาท )
1) จำนวน 3 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
12,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 5,000.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารประกอบการอบรม 50เล่ม x 70บาท
=
3,500.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์
=
1,500.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 26,700.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 26,700.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
0 แผ่น x 0.50 บาท
=
0.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
2,700.00 บาท
=
2,700.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
50 คน x 480.00 บาท
=
24,000.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 100,000.00 บาท