แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2556
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการการทำเหมืองข้อมูลเบื้องต้น (Workshop with Weka)
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : พัฒนาระบบและกลไกการบริหารงานบริการวิชาการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดการบูรณาการกับการวิจัยและการเรียนการสอน
นโยบาย : บริการวิชการด้านอื่นๆ : โครงการบริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้แก่ชุมชน ร่วมกับภาครัฐ เอกชน
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ดร.วงกต ศรีอุไร คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประสบการณ์ : ได้รับทุนทำวิจัยเพื่อท้องถิ่นจากสกว.
ความเชี่ยวชาญ : "?Data/Text/Web mining ?Information Filtering ?Information Retrieval ?Recommender System"
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันองค์กรต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชนได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการใช้ข้อมูลให้เกิดประโยชน์ สูงสุดการทำเหมืองข้อมูลเป็นกระบวนหนึ่งที่กระทำกับข้อมูลขนาดใหญ่เพื่อค้นหารูปแบบ และความสัมพันธ์ที่ซ่อนอยู่ในชุดข้อมูลนั้นโดยอาศัยขั้นตอนวิธีทางคอมพิวเตอร์ร่วมกับวิธีการทางสถิติซึ่งเทคนิคที่ใช้ในการทำเหมืองข้อมูลได้แก่ เทคนิคการจำแนกประเภทข้อมูล เทคนิคการแบ่งกลุ่มข้อมูล เทคนิคการหากฎความสัมพันธ์ เป็นต้น เทคนิคเหล่านี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลได้ในทุกๆองค์กร ผลที่ได้จากการทำเหมืองข้อมูลจะทำให้องค์กรได้องค์ความรู้และข้อมูลที่ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับผู้บริหารดังนั้นจึงเป็นผลให้คณะวิทยาศาสตร์ได้จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการทำเหมืองข้อมูลเบื้องต้น (Workshop with Weka) ขึ้น เพื่อเป็นการแนะนำการทำเหมืองข้อมูลเบื้องต้น และแนะนำวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยซอฟต์แวร์ Weka ซึ่ง Weka เป็น open source software ที่พัฒนาขึ้นด้วยภาษาจาวา (Java) และสามารถดาวน์โหลดมาใช้ได้ฟรีผลของการเข้าร่วมโครงการจะทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล Data Mining ด้วย Wekaไปประยุกต์ใช้กับองค์กรของตนได้

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจในหลักการการทำเหมืองข้อมูล 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงมีความเข้าใจฟังก์ชันการทำงานต่างๆของซอฟต์แวร์Weka และสามารถนำซอฟต์แวร์นี้ไปวิเคราะห์ข้อมูลได้ 3.เพื่อนำผลจากการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้กับงานการเรียนการสอน

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
1.ครู-อาจารย์ที่อยู่ในโรงเรียนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2.บุคลากรของภาครัฐ พนักงานบริษัท หรือบุคคลทั่วไปที่สนใจ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
30 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1.ส่งเอกสารประชาสัมพันธ์ 2.รับสมัครผู้เข้าอบรม 3.จัดเตรียมเอกสารวัสดุ 4.จัดฝึกอบรม 5.สรุปผลการดำเนินงาน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2555
2556
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ส่งเอกสารประชาสัมพันธ์ - --- --- --- 2,580.00
2.รับสมัครผู้เข้าอบรม --- -- --- --- 1,000.00
3.จัดเตรียมเอกสารวัสดุ --- - --- --- 3,000.00
4.จัดฝึกอบรม --- - --- --- 29,020.00
5.สรุปผลการดำเนินงาน --- --- - --- 1,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ - รวมเวลา 0 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
0 พ.ศ. 543
09.00-10.00 น. ทำความรู้จักกับการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิค Data Miningและตัวอย่างงานทางด้านData Miningที่พบในชีวิตป ดร.วงกต ศรีอุไร
0 พ.ศ. 543
13.00-14.00 น. เรียนรู้วิธีการหากฏความสัมพันธ์ (Association Rules) ด้วย Weka ดร.ณัฏฐ์ ดิษเจริญ
0 พ.ศ. 543
10.00-12.00 น. เรียนรู้เทคนิคการจัดกลุ่มข้อมูล (Data Clustering) ด้วย Weka ดร.ณัฏฐ์ ดิษเจริญ
0 พ.ศ. 543
09.00-10.00 น. เรียนรู้เทคนิคในการจำแนกประเภทข้อมูล (Data Classification) ด้วย Weka ดร.วงกต ศรีอุไร
0 พ.ศ. 543
15.00-16.00 น. แนะนำฟังก์ชันในการทำ Preprocess ข้อมูลก่อนนำมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิค Data Mining นายอนุพงษ์ รัฐิรมย์
0 พ.ศ. 543
14.00-15.00 น. เรียนรู้วิธีการเตรียมข้อมูลและนำข้อมูลเข้า Weka นายอนุพงษ์ รัฐิรมย์
0 พ.ศ. 543
13.00-14.00 น. แนะนำส่วนประกอบและฟังก์ชันการทำงานต่างๆ ของ Weka ดร.วงกต ศรีอุไร
0 พ.ศ. 543
11.00-12.00 น. ทำความรู้จักกับซอฟต์แวร์Wekaวิธีการดาวน์โหลด และการติดตั้ง ดร.วงกต ศรีอุไร
0 พ.ศ. 543
10.00-11.00 น. ทำความรู้จักกับซอฟต์แวร์ open source และ commercial ที่นิยมใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางด้าน Data Minin ดร.วงกต ศรีอุไร
0 พ.ศ. 543
14.00-16.00 น. แนะนำการใช้งาน Knowledge Flow นายอนุพงษ์ รัฐิรมย์

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : -
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : 1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจในหลักการการทำเหมืองข้อมูล 2.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถใช้เครื่องมือวิเคราะห์ข้อมูล Data Mining ด้วย Wekaได้ 3.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล Data Mining ด้วย Weka ไปประยุกต์ใช้กับองค์กรของตนได้

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
30
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา 1106606 การทำเหมืองข้อมูล
หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
นักศึกษาชั้นปี : 3
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 8,600.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 7,200.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 7,200.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
7,200.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 1,400.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 1,400.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 7 คน
=
1,400.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 20,420.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 3,700.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 37 คน
=
3,700.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 5,920.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 37 คน
=
5,920.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 1,600.00 บาท )
1) จำนวน 4 คน x จำนวน 2 เดือน x เดือนละ 200.00 บาท
=
1,600.00 บาท

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 9,200.00 บาท )
1) ค่าตอบแทนผู้ช่วยวิทยากร 12 ชั่วโมง x 300 บาท x 2 คน
=
7,200.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสาร (40 เล่ม x 50 บาท)
=
2,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 7,580.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 7,580.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
0 แผ่น x 0.50 บาท
=
0.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
5,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
2,580.00 บาท
=
2,580.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 5,000.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 36,600.00 บาท