แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2557
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ คลินิกส่งเสริมการออม เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเยาวชน
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : เสริมสร้างความเข้มแข็งของการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่เป้าหมาย เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและชุมชน
นโยบาย : การพัฒนาการศึกษาแก่โรงเรียนเครือข่าย มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายดุสิต จักรศิลป์ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
ประสบการณ์ : การจัดการด้านการเงิน อาจารย์ประจำสาขาการเงินการธนาคาร
ความเชี่ยวชาญ : วิทยากรตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย วิทยากรด้าน ความสำคัญและประโยชน์ของการออม
หัวหน้าโครงการ
ผศ.นภาพร หงษ์ภักดี คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : บัญชี
ประสบการณ์ : จัดทำงบการเงิน ตรวจสอบภายใน
ความเชี่ยวชาญ : จัดทำงบการเงิน ตรวจสอบภายใน
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
ด้วยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำริให้พสกนิกรชาวไทยยึดถือแนวทางการดำเนินชีวิตตามหลัก ? ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ? โดยคำนึงถึงความสมดุลพอดี และความพอประมาณอย่างมีเหตุผลเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยให้อยู่ดีมีสุข จุดเน้นของเศรษฐกิจพอเพียงจะอยู่ที่การมีภูมิคุ้มกัน เนื่องจากการมีภูมิคุ้มกันที่ดีจะช่วยทำให้กิจการสามารถดำรงอยู่ได้ในลักษณะไม่เสี่ยงมากจนเกินไปทำให้ไม่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นที่ไม่อาจคาดเดาล่วงหน้าได้หรือถ้าหากได้รับผลกระทบกะสามารถฟื้นตัวได้ในเวลารวดเร็วพอสมควร โดยที่การจะมีภูมิคุ้มกันที่ได้นั้นจำเป็นต้องมาจากการพึ่งตัวเองให้ได้เป็นส่วนใหญ่ หมายถึงใช้ทรัพยากรที่มีอยู่เองหรือหาได้ง่ายในท้องถิ่นมากที่สุด ใช้เทคโนโลยีเหมาะสมที่สามารถจัดการหรือควบคุมได้ หรือมีทุนที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทุนทางกายภาพที่มนุษย์เป็นผู้สร้างขึ้นไม่ว่าจะเป็นเงินทุนเครื่องมือเครื่องใช้ ตลอดจนเทคโนโลยีในการผลิต ตลอดจนภาวการณ์ตลาดที่สามารถจัดการได้โดยไม่ยากจนเกินไป และถ้าสามารถที่จะพึ่งตนเองได้มากเท่าไหร่ ภูมิคุ้มกันก็จะมีสูงมากขึ้นไม่ว่าการเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นและมีความรุนแรงมากน้อยเพียงใดก็สามารถจัดการได้ เพราะปัญหาส่วนใหญ่ทุกประเภทอยู่ในขอบเขตความสามารถที่จะจัดการได้เอง แต่การจะพึ่งตัวเองนั้นจำเป็นต้องเป็นผู้ที่มี ความพอประมาณ ความหมายของความพอประมาณก็คือทำทุกอย่างเท่าที่จะสามารถจัดการเองได้ไม่เกินกำลังความสามารถ (ศ.ดร.อภิชัย พันธเสน) ดังนั้นในการที่บุคคลจะ มีความพอประมาณต้องเริ่มที่การจัดการวิธีการดำเนินชีวิตของตนเองไม่ว่าจะเป็น การตรวจสุขภาพทางการเงิน การวางแผนใช้จ่ายเงิน การทำบัญชีรับ ? จ่าย การส่งเสริมวินัยการออม สร้างนิสัยประหยัดอดออม ทั้งนี้เพื่อเป็นการใช้ชีวิตอย่างระมัดระวังไม่ประมาทและมีการเตรียมพร้อมที่จะเผชิญปัญหาที่จะเข้ามาในการดำเนินชีวิตโดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักยึดในกระบวนการต้านทานและแก้ไขปัญหา ในแนวทางดังกล่าวจึงจำเป็นต้องอาศัย คลินิกส่งเสริมการบริหารเงินออมตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเยาวชน ในการช่วยถ่ายทอดความรู้ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมนำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดและใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงต่อไป

วัตถุประสงค์
1.1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์ของการออม การจัดทำบัญชีครัวเรือนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
2.2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และสามารถจัดทำบัญชีครัวเรือนได้ด้วยวิธีการง่ายๆตลอดจนเป็นการส่งเสริมวินัยในการออม และนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดให้กับชุมชนต่อไป

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเยาวชน นักเรียน โรงเรียนเครือข่าย มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
200 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
เป็นการอบรมนอกพื้นที่ ณ.พื้นที่เป้าหมาย โดยถ่ายทอดความรู้โดยการบรรยาย การฝึกปฏิบัติ ผ่านการเล่นเกมส์เกี่ยวกับ การจัดการรายได้ของตนเองหรือครอบครัว ความสำคัญและประโยชน์ของการออม การบริหารเงินออมและใช้เงินออมเป็นทุนในการประกอบอาชีพ หรือนำไปลงทุนในช่องทางต่าง ๆ เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว แนะนำช่องทางการเพิ่มคุณค่าของการออม โดยใช้ระยะเวลาในการอบรม รุ่นละ 1 วัน รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 4 วัน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2556
2557
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.เสนอขอรับงบประมาณ เตรียมแผนงาน ประชุมวิธีการดำเนินงาน --- --- --- 10,000.00
2.ติดต่อประสานงาน ประชาสัมพันธ์ เตรียมโครงการฯ --- --- --- 20,000.00
3.เตรียมโครงการฯ ดำเนินการ --- --- --- 55,000.00
4.สรุปผลการดำเนินงาน รายงานผล --- --- --- 15,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556 - 30 กันยายน พ.ศ. 2557 รวมเวลา 365 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
25 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
09.00 – 10.30 น. การบรรยายและแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ หัวข้อ ความสำคัญและประโยชน์ของการออม อาจารย์ดุสิต จักรศิลป์และคณะ
25 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
10.45 - 12.00 น. การบรรยายและแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ หัวข้อ“การจัดการรายได้ของตนเองหรือครอบครัว” อาจารย์ดุสิต จักรศิลป์และคณะ
25 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
25 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
13.00 – 14.30 น. การบรรยายและแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ หัวข้อ “ช่องทางการเพิ่มคุณค่าของการออม ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง” อาจารย์ดุสิต จักรศิลป์และคณะ
25 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
14.45 – 16.00 น. การบรรยายและแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ หัวข้อ “ช่องทางการเพิ่มคุณค่าของการออม ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง” (ต่ อาจารย์ดุสิต จักรศิลป์และคณะ

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -ผู้ร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับการจัดการรายได้ของตนเองหรือครอบครัว และมีภูมิคุ้มกันทางการเงิน ลดรายจ่ายได้
ด้านสังคม : -กลุ่มเป้าหมาย ตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์ของการออม สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
-200
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
-80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
-60
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-500

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา 1703470การบริหารสินเชื่อ
หลักสูตร การเงินการธนาคาร
นักศึกษาชั้นปี : 1-4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน หัวข้อ • การบริหารสินเชื่อ
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด นักศึกษาในรายวิชามีส่วนร่วมในกิจกรรม
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 29,640.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 21,600.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 21,600.00 บาท )
1) จำนวน 4 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
14,400.00 บาท
2) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
7,200.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 8,040.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 3,000.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
3,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 5,040.00 บาท )
1) จำนวน 4 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
5,040.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 41,200.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 10,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 200 คน
=
10,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 16,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 200 คน
=
16,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 15,200.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาแรงงาน
=
7,200.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาถ่ายภาพ
=
1,000.00 บาท
3) ค่าจ้างเหมาพิมพ์เอกสารประกอบการบรรยาย
=
3,000.00 บาท
4) ค่าจ้างเหมาจัดทำใบประกาศนียบัตร
=
4,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 22,500.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 20,500.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
25,000 แผ่น x 0.50 บาท
=
12,500.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
5,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
3,000.00 บาท
=
3,000.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 5,000.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 2,000.00 บาท )
1) ค่าล้างอัดรูป
=
2,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 93,340.00 บาท