แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2557
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ การพัฒนาคุณภาพวิชาการให้กับสถานศึกษาในเครือข่ายมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : เสริมสร้างความเข้มแข็งของการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่เป้าหมาย เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและชุมชน
นโยบาย : การพัฒนาการศึกษาแก่โรงเรียนเครือข่าย มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ดร.เพ็ญภัคร พื้นผา คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : Ph.D. Educational Research Methodology Chulalongkorn University
ประสบการณ์ : - อบรมคณิตศาสตร์ให้กับครูต้นแบบในโรงเรียนเครือข่ายของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) -วิทยากรอบรมการวิเคราะห์ข้อมูลและการเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมทางสังคมศาสตร์ให้กับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -เป็นอาจารย์พิเศษทางด้านสถิติให้กับนิสิตระดับปริญญาโท-เอก ของคณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -ผู้ออกข้อสอบ O-Net วิชาคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษาให้กับ สทศ. -อาจารย์ผู้สอนวิชาสถิติธุรกิจ คณิตศาสตร์ธุรกิจ และภาษาอังกฤษ ให้กับนักศึกษาและบุคลากรคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ความเชี่ยวชาญ : ทางวิจัยทางสังคมศาสตร์ สถิติ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และโปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูล เช่น SPSS Lisrel HLM
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
ประชาคมอาเซียนก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เริ่มแรกเพื่อสร้างสันติภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันนำมาซึ่งเสถียรภาพทางการเมืองและความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม ทำให้อาเซียนได้หันมามุ่งเน้นกระชับและขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างกันมากขึ้น อย่างไรก็ตามก็ยังคงไว้ซึ่งวัตถุประสงค์หลัก 3 ประการดังนี้ คือ (1) ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมในภูมิภาค (2) รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความมั่นคงในภูมิภาค และ (3) ใช้เป็นเวทีแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภายในภูมิภาค การที่จะพัฒนาประเทศเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่างยั่งยืนนั้นคือการพัฒนาคุณภาพด้านการศึกษาให้มีความทันสมัยและเหมาะกับบริบทสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้นักเรียนผู้ที่จะเป็นผู้ใหญ่ในอนาคตพร้อมที่จะเผชิญกับโลกภายนอก การเตรียมความพร้อมให้กับสถานศึกษาเพื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียนจึงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งเพราะการที่ครูและนักเรียนมีความรู้ ความสามารถทางด้านวิชาการอย่างเพียงพอย่อมก่อให้เกิดการพัฒนาของสังคมต่อไป การเสริมสร้างทักษะการทำวิจัยในชั้นเรียนและการเลือกใช้สถิติการวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านสังคมศาสตร์ การรู้จักแนวโน้มทางธุรกิจ การตลาด การเงิน การจัดการธุรกิจ เทคโนโลยีทางการศึกษา และรู้จักวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาให้กับเยาวชน เพราะคุณภาพทางการศึกษาของเยาวชนถือเป็นสิ่งที่สำคัญ เพราะประเทศไทยประสบปัญหาผลการเรียนของเยาวชนตกต่ำและต่ำกว่าระดับค่าเฉลี่ยในหลายๆ ประเทศโดยดูจากผลการสอบ O-Net, TIMSS, PISA ที่ผ่านมา การเสริมสร้างทักษะด้านวิชาการให้กับครูและนักเรียนเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนจึงมีความสำคัญและจำเป็น และควรมีการพัฒนาทักษะในด้านนี้อย่างต่อเนื่องเป็นระบบในอนาคตต่อไป

วัตถุประสงค์

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
1. เพื่อส่งเสริมศักยภาพด้านวิชาการทางด้านการจัดการธุรกิจ ด้านการตลาด ด้านการเงิน ด้านการบัญชี ด้านคอมพิวเตอร์ ด้านการวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ให้กับครูและนักเรียนในโรงเรียนเครือข่าย 24 แห่งของ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนของสถานศึกษาให้มีคุณภาพสามารถในการแข่งขันในระดับประเทศและสากล และพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 3. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีกับชุมชนท้องถิ่นโดยเฉพาะสถานศึกษา และเป็นการเผยแพร่ชื่อเสียงให้คณะและมหาวิทยาลัย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
300 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ 1.1 จัดตั้งทีมงานและวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ 1.2 ประสานงานกับโรงเรียน 1.3 เตรียมความพร้อมของอุปกรณ์ /เอกสารประกอบการอบรมและการถ่ายทอดความรู้ 1.4 จัดฝึกอบรม ให้คำปรึกษา และร่วมพัฒนา 1.5 ติดตามและประเมินผลโครงการ 1.6 สรุปโครงการ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2556
2557
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.การจัดเตรียมงาน --- --- --- 5,000.00
2.ประสานงานโรงเรียน - --- --- 15,000.00
3.เตรียมความพร้อมของอุปกรณ์ / เอกสารประกอบการสอน / -- -- --- 500.00
4.กิจกรรมสาขาการเงินและการธนาคาร: โครงการอบรมและประกวด เพื่อให้ความรู้ในหัวข้อ “การส่งเสริมทักษะการออมและการวางแผนทางการเงินเบื้องต้น สำหรับนักเรียนมัธย --- - --- --- 50,000.00
5.กิจกรรมสาขาการจัดการธุรกิจ:การพัฒนาการเรียนด้วยการพัฒนาตนเอง --- --- - --- 63,140.00
6.กิจกรรมสาขาการบัญชี: โครงการ “บัญชีจดแล้วไม่จน” เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเยาวชน --- --- - --- 50,000.00
7.กิจกรรมสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ:การอบรมการสร้าง E-learning สำหรับโรงเรียนในเครือข่ายเพื่อรองรับการใช้งานบนTablet --- --- - --- 57,200.00
8.กิจกรรมสาขาการตลาด: อบรมครูเพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการตลาด “การตลาดสำหรับเยาวชน --- --- --- -- 29.00
9.กิจกรรมสาขาการจัดการอุตสาหกรรมบริการ: การพัฒนาศักยภาพเยาวชนเพื่อสร้างแรงงานที่มีฝีมือ (Skilled Labor) ด้านการบริการและการท่องเที่ยวสำหรับการเปิดเสรีปร --- --- --- -- 78,000.00
10.กิจกรรมสาขาการจัดการธุรกิจ: การอบรมการทำวิจัยในชั้นเรียนและการวิเคราะห์ของมูลเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร์ เพื่อเตรียมพร้อมรับ AEC” สำหรับครูเครือข่ายมหาวิ --- --- --- -- 60,000.00
11.การติดตามการดำเนินโครงการ --- --- - 5,500.00
12.เบิกจ่ายโครงการ --- --- --- - 2,000.00
13.สรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการ --- --- --- 2,180.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556 - 30 กันยายน พ.ศ. 2557 รวมเวลา 365 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
0 พ.ศ. 543
9.00-16.00 กิจกรรมสาขาการเงินและการธนาคาร: โครงการอบรมและประกวด เพื่อให้ความรู้ในหัวข้อ “การส่งเสริมทักษะการออม อ.อติชน ทองปนและคณะ
0 พ.ศ. 543
9.00-16.00 กิจกรรมสาขาการจัดการ:การอบรม“การพัฒนาการเรียนด้วยการพัฒนาตนเอง” อ.ศุภกัญญา จันทรุกขา และคณะ
0 พ.ศ. 543
9.00-16.00 กิจกรรมสาขาการบัญชี: โครงการ “บัญชีจดแล้วไม่จน” เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเยาว ผศ.นภาพร หงษ์ภักดี และคณะ
0 พ.ศ. 543
9.00-16.00 กิจกรรมสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ:การอบรมคอมพิวเตอร์เชิงปฏิบัติการในหัวข้อ “การอบรมการสร้าง E-learning สำ อ.อรุณรัตน์ เศวตธรรม และคณะ
0 พ.ศ. 543
9.00-16.00 กิจกรรมสาขาการตลาด: อบรมครูเพื่อถ่ายทอดความรู้ด้านการตลาด “การตลาดสำหรับเยาวชน อ.สายเพชร อักโข และคณะ
0 พ.ศ. 543
9.00-16.00 กิจกรรมสาขาการจัดการอุตสาหกรรมบริการ: การพัฒนาศักยภาพเยาวชนเพื่อสร้างแรงงานที่มีฝีมือ (Skilled Labor อ.สิริรัตน์ ชอบขาย และคณะ
0 พ.ศ. 543
9.00-16.00 กิจกรรมสาขาการจัดการ : การอบรมปฏิบัติการการทำวิจัยในชั้นเรียนและการวิเคราะห์ของมูลเชิงปริมาณทางสังคม ดร.เพ็ญภัคร พื้นผา และคณะ

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : -สถานศึกษามีความเข้มแข็งโดยเฉพาะครูและนักเรียน สามารถเข้าสู่ระบบการแข่งขันได้อย่างมีคุณภาพในระดับมาตรฐาน
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -ทางวิชาการ ครูและนักเรียนในโรงเรียนเครือข่าย มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มีความรู้และความสามารถในการนำความรู้ไปใช้ได้จริง ครูผู้สอนสามารถทำวิจัยในชั้นเรียน ทักษะคอมพิวเตอร์ e-learning และการตลาดเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ในด้านผู้เรียนมีทักษะในด้านบริหารจัดการ บริหารการเงิน การทำบัญชีในครัวเรือน การได้ฝึกทักษะทางด้านแรงงานที่มีฝีมือ เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
300
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา 1701110 หลักการจัดการ
หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต
นักศึกษาชั้นปี : 1
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ของนักศึกษากลุ่มเป้าหมายที่มีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการวิชาหลักการจัดการร้อยละ 80
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ การนำองค์ความรู้จากการวิจัยถ่ายทอดสู่กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 118,940.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 69,600.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 69,600.00 บาท )
1) จำนวน 10 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
36,000.00 บาท
2) จำนวน 1 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
14,400.00 บาท
3) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
14,400.00 บาท
4) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 400.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
4,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 49,340.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 21,200.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 20 คน
=
20,000.00 บาท
2) จำนวน 3 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
1,200.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 28,140.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
8,400.00 บาท
2) จำนวน 3 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 5 คน
=
6,300.00 บาท
3) จำนวน 2 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 16 คน
=
13,440.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 202,840.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 11,960.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 1,680.00 บาท )
1) จำนวน 6 ครั้ง x จำนวน 1 คน x ครั้งละ 280.00 บาท
=
1,680.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 5,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 คืน x จำนวน 5 ห้อง x ห้องละ 1,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 5,280.00 บาท )
1) จำนวน 6 วัน x จำนวน 1 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
1,440.00 บาท
2) จำนวน 4 วัน x จำนวน 4 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
3,840.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 27,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 270 คน
=
13,500.00 บาท
2) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 135 คน
=
13,500.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 44,000.00 บาท )
1) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 75.00 บาท x จำนวน 50 คน
=
3,750.00 บาท
2) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 75.00 บาท x จำนวน 135 คน
=
20,250.00 บาท
3) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 190 คน
=
15,200.00 บาท
4) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
4,800.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 12,600.00 บาท )
- จำนวน 1 คัน x จำนวน 7 วัน x ราคา 1,800 บาท/คัน/วัน
=
12,600.00 บาท

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 107,280.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาติดต่อประสานงานโรงเรียนเครือข่าย 24 แห่ง
=
30,500.00 บาท
2) ค่าน้ำมันในการติดต่อประสานงาน
=
5,500.00 บาท
3) ค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษาช่วยงาน
=
3,600.00 บาท
4) ค่าจ้างเหมารถรับจ้างโดยสาร
=
3,000.00 บาท
5) ค่าบำรุงสถานที่อบรม
=
14,000.00 บาท
6) ค่าจ้างเหมาประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล และสรุปโครงการ
=
7,380.00 บาท
7) ค่าจ้างเหมาพิมพ์เอกสารสำหรับการบรรยาย
=
7,050.00 บาท
8) ค่าจ้างเหมาถ่ายภาพและตัดต่อวิดีโอ
=
2,000.00 บาท
9) ค่าจ้างเหมาทำประกาศนียบัตร
=
2,000.00 บาท
10) ค่าจ้างเหมาแรงงาน
=
9,000.00 บาท
11) ค่าจ้างเหมาเพื่อประกอบการสร้างฐานข้อมูลและสื่อผสม 35 ชุด
=
17,000.00 บาท
12) ค่าจ้างเหมาจัดเตรียมงาน
=
6,250.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 81,040.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 71,040.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
35,000 แผ่น x 0.50 บาท
=
17,500.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
30,640.00 บาท
=
30,640.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
15,100.00 บาท
=
15,100.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 5,000.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
7,800.00 บาท
=
7,800.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 10,000.00 บาท )
1) รางวัลสำหรับผู้ชนะการประกวด
=
10,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 1,000.00 บาท )
1) ค่าแสตมป์
จำนวน 0 ดวง x ดวงละ 3 บาท
=
0.00 บาท
2) ค่าสาธารณูปโภค
จำนวน 1000 บาท
=
1,000.00 บาท

งบประมาณทั้งสิ้น 403,820.00 บาท