แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2557
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องสถานภาพปัญหาและทางออกของแรงงานในยุคทุนนิยมโลกาภิวัฒน์
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน หน่วยงานของรัฐ ตลอดจนภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม เพื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม
นโยบาย : โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านอาชีพแก่ชุมชน
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางเนตรดาว เถาถวิล คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : สังคมศาสตร์
ประสบการณ์ : การสอนด้านทฤษฎีสังคมศาสตร์ การวิจัยด้านสังคมศาสตร์ สตรีศึกษา การพัฒนา และแรงงานศึกษา
ความเชี่ยวชาญ : การพัฒนา สตรีศึกษาและแรงงานศึกษา
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
ประชากรวัยแรงงานเป็นพลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ อย่างไรก็ตาม แรงงานที่อยู่ในภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรมและภาคบริการต่างๆ เผชิญกับปัญหาในลักษณะที่แตกต่างกันในระบบทุนนิยมโลกาภิวัฒน์ ประเด็นปัญหาแรงงาน ไม่ว่าจะเป็นสถานภาพของการจ้างงานแรงงานที่ไม่เต็มเวลาและไม่เต็มศักยภาพ การทำงานที่ได้รับค่าตอบแทนไม่เป็นธรรม เงื่อนไขการจ้างงานที่ไม่เหมาะสม ความไม่มั่นคงในด้านอาชีพ การเลือกปฏิบัติต่อบุคคลจากเพศ สถานะทางเศรษฐกิจ ชาติพันธุ์และการเข้าไม่ถึงสวัสดิการต่างๆ ของรัฐ นับเป็นปัญหาที่แรงงานกลุ่มต่างๆ เผชิญในลักษณะแตกต่างกัน ทว่ากลุ่มองค์กรที่ทำงานเพื่อให้ความช่วยเหลือแรงงานยังขาดความรู้ความเข้าใจในสภาพปัญหาดังกล่าวอยู่มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานภาพปัญหาของแรงงานในยุคโลกาภิวัฒน์ที่มีความสลับซับซ้อน ที่มีการจ้างงานแบบยืดหยุ่น มีการละเมิดสิทธิและกีดกันการเข้าถึงโอกาสในลักษณะที่แตกต่างกัน เงื่อนไขเหล่านี้ทำให้แรงงานอยู่ในสภาพที่เปราะบางและไม่มั่นคงในชีวิตมากขึ้น จากสภาพปัญหาดังกล่าว การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องสถานภาพปัญหาและทางออกของแรงงานในระบบทุนนิยมโลกาภิวัฒน์จึงเป็นการเติมองค์ความรู้ ระดมข้อเท็จจริงและแสวงหาทางออกให้แก่ปัญหาแรงงานในยุคโลกาภิวัฒน์

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสถานภาพปัญหาของแรงงานในยุคโลกาภิวัฒน์
2.เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความารู้และความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายรัฐ กฎหมายและสิทธิของแรงงานในยุคโลกาภิวัฒน์
3.เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน หน่วยงานของรัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน ตลอดจนภาคธุรกิจเอกชน เพื่อสร้างเสริมการพิทักษ์สิทธิและเสริมสร้างสวัสดิการแรงงาน อันจะช่วยสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักของการอบรม ได้แก่ องค์กรชุมชน องค์กรพัฒนาเอกชนที่ทำงานเกี่ยวกับแรงงาน เช่น มูลนิธิพัฒนรักษ์ มูลนิธิพิทักษ์ธรรมชาติเพื่อชีวิต มูลนิธิเพื่อสุขภาพและการแบ่งปัน มูลนิธิเพิร์ล เอส บัค มูลนิธิขวัญชุมชน มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี ตัวแทนแรงงาน และกลุ่มเกษตรกร ส่วนผู้เข้าร่วมการอบรมอื่นๆ ได้แก่ หน่วยงานรัฐที่ทำงานเกี่ยวกับแรงงาน เช่น จัดหางานจังหวัด และธุรกิจเอกชน นักศึกษาผู้สนใจในเรื่องแรงงานในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีและจังหวัดใกล้เคียง
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
50 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2556
2557
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ประชาสัมพันธ์ -- --- --- --- 3,000.00
2.รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ --- - --- --- 1,000.00
3.จัดเตรียมสถานที่และเอกสารอุปกรณ์สำหรับการฝึกอบรม --- -- --- --- 80,840.00
4.ฝึกอบรม --- --- -- --- 80,000.00
5.รายงานผลการดำเนินโครงการ --- --- - --- 5,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2557 - 17 เมษายน พ.ศ. 2557 รวมเวลา 4 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
15 เมษายน พ.ศ. 2557
08.30-09.00 ลงทะเบียน
15 เมษายน พ.ศ. 2557
14.00-16.00 แบ่งกลุ่มย่อย 4 กลุ่มย่อย เพื่อทำกิจกรรมวิเคราะห์ความไม่มั่นคงของการจ้างงานในระบบอุตสาหกรรม แรงงานนอ วิทยากรรับเชิญภายใน 1 ท่าน ดร.เนตรดาว เถาถวิล ดร.เหมวรรณ เหมะนัค อาจารย์จักเรศ อิฐรัตน์
15 เมษายน พ.ศ. 2557
13.40-14.00 รับประทานอาหารว่าง
15 เมษายน พ.ศ. 2557
13.30-13.40 กิจกรรมทำความรู้จักและละลายพฤติกรรม อาจารย์จักเรศ อิฐรัตน์
15 เมษายน พ.ศ. 2557
12.30-13.30 รับประทานอาหารกลางวัน
15 เมษายน พ.ศ. 2557
10.45-12.30 ภาพรวมของปัญหาและทางออกของแรงงานในยุคโลกาภิวัฒน์ วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก และ ดร.เนตรดาว เถาถวิล
15 เมษายน พ.ศ. 2557
10.30-10.45 รับประทานอาหารว่าง
15 เมษายน พ.ศ. 2557
09.15-10.30 ภาพรวมของปัญหาสถานภาพการจ้างงานของแรงงานในภาคอุตสาหกรรม แรงงานนอกระบบ แรงงานภาคเกษตร และแรงงานข้ามชา วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก และ ดร.เนตรดาว เถาถวิล
15 เมษายน พ.ศ. 2557
09.00-09.15 พิธีการเปิดการฝึกอบรม รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย
16 เมษายน พ.ศ. 2557
15.00-15.15 รับประทานอาหารว่าง
16 เมษายน พ.ศ. 2557
13.30-15.00 ระดมความเห็นแนวทางการสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการคุ้มครองสิทธิและส่งเสร ดร.เนตรดาว เถาถวิล ดร.เหมะวรรณ เหมะนัค และอาจารย์จักเรศ อิฐรัตน์
16 เมษายน พ.ศ. 2557
12.30-13.30 รับประทานอาหารกลางวัน
16 เมษายน พ.ศ. 2557
10.30-12.30 วิเคราะห์และให้ข้อเสนอแนะต่อการแก้ปัญหาความไม่มั่นคงของแรงงาน ให้ข้อเสนอแนะแนวทางการทำงานพัฒนาด้านแ วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก และ ดร.เนตรดาว เถาถวิล
16 เมษายน พ.ศ. 2557
10.30-10.45 รับประทานอาหารว่าง
16 เมษายน พ.ศ. 2557
09.00-10.00 ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการระดมความคิดเห็นในกลุ่มย่อยจากการประชุมในวันแรก ดร.เหมวรรณ เหมะนัค
16 เมษายน พ.ศ. 2557
08.45-09.00 ลงทะเบียน
17 เมษายน พ.ศ. 2557
13.00-15.00 แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 2 ท่าน ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 2 ท่าน ดร.เนตรดาว เถาถวิล ดร.เหมะวรรณ เหมะนัค อาจารย์จักเรศ อิฐรัตน์
17 เมษายน พ.ศ. 2557
12.00-13.00 รับประทานอาหารกลางวัน
17 เมษายน พ.ศ. 2557
10.30-12.00 ศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้ทรงคุณวุฒิในอำเภอโขงเจียม วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 2 คน
17 เมษายน พ.ศ. 2557
10.30-10.45 รับประทานอาหารว่าง
17 เมษายน พ.ศ. 2557
09.00-10.30 เดินทางถึงอำเภอโขงเจียม พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก (2 คน)
17 เมษายน พ.ศ. 2557
08.45-09.00 ออกเดินทางจากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เพื่อไปศึกษาดูงานภาคสนามที่อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุ
17 เมษายน พ.ศ. 2557
15.00-16.30 เดินทางกลับคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โดยสวัสดิภาพ

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -ช่วยให้มีประสิทธิภาพในการจ้างงานและการทำงาน -ช่วยพัฒนาศักยภาพในการผลิตและการแข่งขันของธุรกิจ อุตสหกรรมและการเกษตร -ช่วยให้ลดต้นทุนการจัดสวัสดิการทางสังคมในการช่วยเหลือแรงงาน
ด้านสังคม : -กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในเรื่องการจัดจ้างแรงงาน ช่วยลดปัญหาการจ้างงานไม่เต็มศักยภาพและการว่างงาน -ช่วยลดความขัดแย้งทางสังคมอันเนื่องมาจากการจ้างงานไม่เหมาะสม -ช่วยให้แรงงานสามารถเข้าใจถึงสิทธิอันพึงมีพึงได้และสวัสดิการต่างๆ ตามที่กฎหมายกำหนด
ด้านสิ่งแวดล้อม : -เกิดการจัดการสภาพแวดล้อมในการทำงานอย่างเหมาะสม
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
50
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
80

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา แรงงานศึกษา
หลักสูตร การพัฒนาสังคม
นักศึกษาชั้นปี : 2 และ 3
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน นักศึกษาได้รับความรู้เพิ่มเติมร้อยละ 80
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด นักศึกษาได้มีประสบการณ์จริงจากการเข้าร่วมแลกเปลี่ยนความเห็นและพูดคุยกับตัวแทนกลุ่มทางสังคมจากภายนอก ร้อยละ 80
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ นักศึกษาได้หัวข้อในการทำงานวิจัยค้นคว้าอิสระ ร้อยละ 50

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 28,800.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 25,800.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 9,600.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
4,800.00 บาท
2) จำนวน 2 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
4,800.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 16,200.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
7,200.00 บาท
2) จำนวน 2 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
7,200.00 บาท
3) จำนวน 1 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
1,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 3,000.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 3,000.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 3 คน
=
3,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 47,660.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 6,820.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 4,500.00 บาท )
1) จำนวน 1 ครั้ง x จำนวน 1 คน x ครั้งละ 4,500.00 บาท
=
4,500.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 1,600.00 บาท )
1) จำนวน 2 คืน x จำนวน 1 ห้อง x ห้องละ 800.00 บาท
=
1,600.00 บาท
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 720.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 3 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
720.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 7,500.00 บาท )
1) จำนวน 5 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
7,500.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 14,400.00 บาท )
1) จำนวน 3 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
14,400.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 18,940.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมารถบัส 45 ที่นั่ง 1 คัน 1 วัน
=
10,000.00 บาท
2) ค่าเบี้ยเลี้ยงเจ้าหน้าที่ 3 คน 2 วัน วันละ 240 บาท
=
1,440.00 บาท
3) ค่าจ้างเหมาทำเอกสารประกอบการอบรม
=
7,000.00 บาท
4) ค่าจ้างเหมาทำใบประกาศนียบัตร
=
500.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 13,940.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 13,740.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
3,880 แผ่น x 0.50 บาท
=
1,940.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
1,800.00 บาท
=
1,800.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
3,000.00 บาท
=
3,000.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
50 คน x 80.00 บาท
=
4,000.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
3,000.00 บาท
=
3,000.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 200.00 บาท )
1) ค่าปากกาเมจิค
=
200.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 500.00 บาท )
1) ค่าแสตมป์
จำนวน 0 ดวง x ดวงละ 3 บาท
=
0.00 บาท
2) ค่าสาธารณูปโภค
จำนวน 500 บาท
=
500.00 บาท

งบประมาณทั้งสิ้น 90,900.00 บาท