แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2557
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ วิทยาศาสตร์สัญจร
ลักษณะโครงการ การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน หน่วยงานของรัฐ ตลอดจนภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม เพื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม
นโยบาย : บริการวิชการด้านอื่นๆ : โครงการบริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้แก่ชุมชน ร่วมกับภาครัฐ เอกชน
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นางสาวมาลี ประจวบสุข คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : เคมี
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวสมจินตนา ทวีพานิชย์ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : -
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวกรรณิการ์ ประทุมภักดิ์ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา)
ประสบการณ์ : การทำปฏิบัติการเกี่ยวกับจุลชีววิทยา
ความเชี่ยวชาญ : การทำแล็ปโครโมโซม
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
งานบริการวิชาการและกิจการนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ ตระหนักถึงความสำคัญของการทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างนักศึกษาในคณะ เพื่อเป็นการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคม จึงเห็นควรจัดทำโครงการวิทยาศาสตร์สัญจรขึ้น ทั้งนี้ เพื่อเป็นการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจในวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์ ทั้งทฤษฎีและปฏิบัติโดยการเปิดโอกาสให้นักเรียนในชนบทฝึกปฏิบัติการด้วยอุปกรณ์และเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ อีกทั้งเพื่อเป็นการปลูกฝังจิตสำนึกให้กับนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการได้รู้จักทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมต่อไป

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีโอกาสทางการศึกษาเพิ่มมากขึ้นในด้านทักษะความรู้ทางวิทยาศาสตร์จากการได้เห็น ได้สัมผัส ฝึกปฏิบัติจริง
2.นักเรียนที่เข้าร่วมโครงมีความเข้าใจและสนใจในการเรียนวิทยาศาสตร์มากขึ้นและเพื่อฝึกฝนทักษะนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการให้รู้จักนำความรู้ที่เรียนมาไปถ่ายทอดให้กับผู้อื่นและมีความสามารถในการทำงานเป็นทีม

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
1. ครู นักเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนม่วงสามสิบ อ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี 2. ครู นักเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนพยุห์วิทยา อ.พยุห์ จ.ศรีสะเกษ 3. ครู นักเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนสำโรงวิทยาคาร อ.สำโรง จ.อุบลราชธานี 4. ครู นักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียนบ้านหนองไฮ โรงเรียนบ้านหนองบัว โรงเรียนบ้านนาแก โรงเรียนบ้านนานวล โรงเรียนบ้านสร้างโหง่น อ.สำโรง จ.อุบลราชธานี 5. ครู นักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียนโรงเรียนเครือข่าย โรงเรียนบ้านศรีษะกระบือ บ้านยางวังกาฮุง บ้านกุดระงุม บ้านกุดปลาขาว บ้านท่าช้าง บ้านหนองฝาง บ้านโนนจิก วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
1500 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1.1 จัดประชุมคณะทำงาน/โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายเพื่อร่วมกันกำหนดรูปแบบกิจกรรมและแนวทางการดำเนินงาน 1.2 จัดประชุมนักศึกษาเพื่อแบ่งหน้าที่ในแต่ละปฏิบัติการ/กลุ่มกิจกรรมโดยให้นักศึกษาร่วม 1.3 ประสานงานกับโรงเรียนในการจัดเตรียมสถานที่และประสานงานกับกลุ่มโรงเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม 1.4 ดำเนินโครงการ 1.5 สรุปผลการดำเนินงาน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2556
2557
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.จัดประชุมคณะทำงาน/โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายเพื่อร่วมกันกำหนดรูปแบบกิจกรรมและแนวทางการดำเนินงาน - -- --- --- 10,000.00
2.จัดประชุมนักศึกษาเพื่อแบ่งหน้าที่ในแต่ละปฏิบัติการ/กลุ่มกิจกรรมโดยให้นักศึกษามีส่วนร่วม ปรึกษาหารือกับอาจารย์ที่ปรึกษาในแต่ละสาขาและเตรียมวัสดุอุปกรณ -- - --- --- 60,000.00
3.ประสานงานกับโรงเรียนในการจัดเตรียมสถานที่และประสานงานกับกลุ่มโรงเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม --- -- -- --- 15,000.00
4.ดำเนินโครงการและสรุปผลการดำเนินงาน --- -- 95,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ - รวมเวลา 0 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
0 พ.ศ. 543
10.30 น. เดินทางออกจากตึกคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
0 พ.ศ. 543
12.00 น. เดินทางถึงโรงเรียนเป้าหมาย/เตรียมสถานที่และกิจกรรม
0 พ.ศ. 543
13.00 น. ประธานกล่าวเปิดโครงการ
0 พ.ศ. 543
13.15 น. แบ่งกลุ่มและดำเนินกิจกรรม
0 พ.ศ. 543
16.30 น. เดินทางกลับมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : -
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : 1. นักเรียนระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาความเข้าใจและสนใจในการเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพื้นฐาน มากขึ้น พื้นฐาน และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 2. นักเรียนระดับมัธยมศึกษามีแรงจูงใจในการเรียนวิทยาศาสตร์มากขึ้น 3. นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการรู้จักนำความรู้ที่เรียนมาไปถ่ายทอดให้กับผู้อื่นและมีความสามารถในการทำงานเป็นทีม 4. เป็นการสร้างความร่วมมือระหว่างโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในชุมชนและมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 5. เป็นเผยแพร่กิจกรรมกิจกรรมบริการวิชาการ และประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีให้แก่โรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
900
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
90
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา จุลินทรีย์กับชีวิต
หลักสูตร วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
นักศึกษาชั้นปี : 1-4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น / สามารถสอบผ่านในรายวิชา
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 0.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 104,160.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 2,160.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 2,160.00 บาท )
1) จำนวน 3 วัน x จำนวน 3 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
2,160.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 22,500.00 บาท )
1) จำนวน 6 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 150 คน
=
22,500.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 27,000.00 บาท )
1) จำนวน 3 มื้อ x มื้อละ 60.00 บาท x จำนวน 150 คน
=
27,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 16,200.00 บาท )
- จำนวน 3 คัน x จำนวน 3 วัน x ราคา 1,800 บาท/คัน/วัน
=
16,200.00 บาท

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 36,300.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมารถบัส 2คัน 3วัน 5000บาท/วัน/คัน
=
30,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมารถตู้เิพิ่มเติม
=
6,300.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 75,840.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 37,500.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
8,000 แผ่น x 0.50 บาท
=
4,000.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
18,500.00 บาท
=
18,500.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
1 คน x 5,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
10,000.00 บาท
=
10,000.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 38,340.00 บาท )
1) วัสดุวิทยาศาสตร์หรือการแพทย์
=
20,000.00 บาท
2) ค่าวัสดุ สารเคมี ตัวอย่างสด
=
18,340.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 180,000.00 บาท