แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2557
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการอาสาร่วมพัฒนาชุมชน และสอนน้องหาปลา
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมบนฐานวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ดีงาม เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและการพึ่งพาตนเองของชุมชนท้องถิ่น
นโยบาย : โครงการพระราชดำริในการพัฒนาการศึกษาแก่โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ผศ.ดร.สุภาวดี แก้วระหัน คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : General Plant Science
ประสบการณ์ : ด้านการสอน วิชาปฐพีเบื้องต้น พืชอุตสาหกรรม งานวิจัย อโครงการน้ำทิ้งจากโรงงานก้าวหน้าไก่สดต่อการผลิตข้าว โครงการผลิตข้าวอินทรีย์ โครงการผลิตป๋ยน้ำจากสิ่งเหลือใช้ในครัวเรือน การนำน้ำเสียที่ผ่านการบำบัดแล้วจากโรงงานก้าวหน้าไก่สดมาใช้ประโยชน์ในการเกษตร
ความเชี่ยวชาญ : ธาตุอาหารพืช
หัวหน้าโครงการ
ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : Plant Pathology
ประสบการณ์ : "-อารย์สอนวิชา โรคพืชวิทยาเบื้องต้นและวิชาการผลิตเห็ด ในคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี - เป็นผู้อำนวยการศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 10 ปี"
ความเชี่ยวชาญ : - การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี - การเพาะเห็ดในถุงพลาสติก"
ผู้ร่วมโครงการ
นายประสิทธิ์ กาญจนา คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : เกษตรศาสตร์ (พืชศาสตร์)
ประสบการณ์ : 1.หัวหน้าโครงการอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตยางพารา 10 ปีทำงานวิจัยทางด้านยางพารา 8 ปีที่ปรึกษานิคมยางพาราในพื้นที่ปฏิรูปที่ดินของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมกรรมการตรวจการจ้างต้นพันธุ์ยางพาราของกรมวิชาการเกษตรกรรมการศูนย์เรียนรู้ยางพาราของสถาบันวิจัยยางกรมวิชาการเกษตรที่ปรึกษาสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางที่ปรึกษากลุ่ม/เครือข่ายยางพาราจังหวัดอุบลราชธานีวิทยากรทางด้านยางพารากรรมการหลักสูตรสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการยาง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลฯและเป็นอาจารย์พิเศษสอนวิชาหลักการผลิตยางธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลฯ 2.หัวหน้าโครงการวิจัยปาล์มน้ำมัน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ความเชี่ยวชาญ : 1.ระบบการผลิตยางพารา 2.ระบบตลาดยางพารา 3.ระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน
ผู้ร่วมโครงการ
นายอินทร์ ศาลางาม คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : เกษตรศาสตร์(สัตวศาสตร์)
ประสบการณ์ : 19 ปี
ความเชี่ยวชาญ : ด้านการผลิตสุกรและสัตว์ปีก
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.สุกัญญา คลังสินศิริกุล คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : กีฎวิทยา
ประสบการณ์ : การควบคุมแมลงผัก และศัตรูข้าว การควบคุมแมลงศัตรูพืชโโดยชีววิธี
ความเชี่ยวชาญ : การควบคุมแมลงศัตรูพืช การควบคุมแมลงศัตรูพืชโโดยชีววิธี
ผู้ร่วมโครงการ
ดร.ภาคภูมิ สืบนุการณ์ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พืชสวน)
ประสบการณ์ : การออกแบบภูมิทัศน์ การจัดการสนามหญ้า
ความเชี่ยวชาญ : การออกแบบภูมิทัศน์ การขุดล้อมต้นไม้และ พันธุ์ไม้ในงานภูมิทัศน์
ผู้ร่วมโครงการ
นายวันชัย อินทิแสง คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : สัตวศาสตร์
ประสบการณ์ : 17
ความเชี่ยวชาญ : การผลิตดคนม
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
คณะเกษตรศาสตร์มีแนวคิดที่จะช่วยพัฒนาให้เกษตรกรได้มีการเรียนรู้เทคนิคการเกษตรแนวใหม่ บนพื้นฐานการนำเทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบันไปเผยแพร่เพื่อเป็นทางเลือกให้กับเกษตรกร ผ่านทางครู และนักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน อีกทั้งเป็นการเรียนรู้ร่วมกันของนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ กับชุมชน ในรูปแบบการจัดอบรมอาสาสมัครเด็กนักเรียนในพื้นที่ ร่วมกับพี่ๆนักศึกษา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการจริงจากปราชญ์ชาวบ้าน ท้ายที่สุดแล้วหลังจาการดำเนินโครงการแล้วเสร็จ ชุมชนควรต้องมีฐานความรู้สำหรับเก็บไว้ถ่ายทอดสู่รุ่นใหม่ต่อๆไปได้ จึงจะเป็นการถ่ายทอดความรู้ที่มีความยั่งยืนต่อไป

วัตถุประสงค์
1.เพื่อเป็นการเผยแพร่เทคโนโลยีการผลิตด้านการเกษตร
2.เพื่อเป็นการนำความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
3.เพื่อฝึกอบรมชุมชน/นักเรียนให้รู้จักวิธีการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
นักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน และประชาชนในชุมชนรอบโรงเรียน
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
100 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. กิจกรรม และวิธีดำเนินการ 1.1 ช่วงก่อนดำเนินการจะทำการสำรวจพื้นที่ และเก็บข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่ เพื่อดูความพร้อมทั้งบุคลากร และสภาพพื้นที่ ในการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของโรงเรียนและชุมชน 1.2 ประชุมเตรียมความพร้อมร่วมกันของทุกภาคส่วนในการวางแผนงาน และเตรียมบุคลากร โดยจัดอบรมบุคลากร(ทั้งนักศึกษา และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง) ให้มีความรู้และความชำนาญในการจัดกิจกรรม 1.3ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ 1.4ทำการประเมินผลโครงการ หลังเสร็จสิ้น และติดตามความสำเร็จของโครงการหลังการจัดกิจกรรมภายในรอบ 6 เดือน 1.5จัดทำกิจกรรมเผยแพร่ในกลุ่มโรงเรียนเครือข่าย 1.6 ทำการรับสมัครอาสาสมัคร เพื่อเป็นวิทยากรในพื้นที่ในการสร้างเป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชนต่อไปโดยการฝึกฝนอบรมอาสาสมัครให้มีความเชี่ยวชาญตามสาขาที่สนใจที่จะเรียนรู้ 1.7 ประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการดำเนินงาน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2556
2557
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.การเตรียมงาน 20,000.00
2.ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการในชุมชนและพื้นที่ข้างเคียง 20,000.00
3.การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ -- --- --- 70,000.00
4.การจัดกิจกรรมเผยแพร่ผลงานแก่ชุมชน --- -- 50,000.00
5.การติดตามและประเมินผลโครงการฯ --- --- --- 20,000.00
6.รายงานผลการดำเนินงาน --- --- --- 20,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556 - 30 กันยายน พ.ศ. 2557 รวมเวลา 360 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
0 พ.ศ. 543
การจัดการสิ่งแวดล้อม ดร.ศันศนีย์ ชวนะกุล อาจารย์กาญจนา คุ้มทรัพย์
24 ตุลาคม พ.ศ. 2556
08.30-12.00 สำรวจพื้นที่ ผศ.ดร.สุภาวดี แก้วระหัน ประสิทธิ์ กาญจนา ดร.ศันสนีย์ ชวนกุล
15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
08.30-12.00 ประชุมสรุปการดำเนินงาน ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ ดร.สุกัญญา คลังสินศิริกุล นาย ชำนาญ แก้วมณี นายภาคภูมิ สืบนุการณ์ นายอินทร์
10 ธันวาคม พ.ศ. 2556
08.30-16.30 อบรมเชิงปฏิบัติการด้านการเกษตร นสพ.นนทกรณ์ อุรโสภณ อินทร์ ศาลางาม ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ ดร.สุกัญญา คลังสินศิริกุล นายอินทร์ ศาลาง
17 มกราคม พ.ศ. 2557
08.30-16.30 อบรมเชิงปฏิบัติการด้านการเกษตร นสพ.นนทกรณ์ อุรโสภณ อินทร์ ศาลางาม ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ ดร.สุกัญญา คลังสินศิริกุล นายอินทร์ ศาลาง
21 สิงหาคม พ.ศ. 2557
08.30-16.30 อบรมด้านการเกษตร ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ ดร.สุกัญญา คลังสินศิริกุล นาย ชำนาญ แก้วมณี นายภาคภูมิ สืบนุการณ์ นายอินทร์

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : - สร้างรายได้ ลดค่าใช้จ่ายให้กับชุมชน
ด้านสังคม : -เกษตรกรมีการนำเอาความรู้เกี่ยวกับการเกษตรแผนใหม่ ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต ส่งผลทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น
ด้านสิ่งแวดล้อม : -ก่อให้เกิดการนำเอาสิ่งที่อยู่รอบตัวเกษตรกรมาใช้ให้เกิดประโยชน์มากขึ้น เกิดการอนุรักษ์ดินและมีการใช้น้ำอย่างประหยัด และยั่งยืน
ด้านอื่นๆ : -เสริมประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับนักศึกษา

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
100
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
90
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
สามารถลดต้นทุนในการปลูกและดูแลยางพารา ด้านต้นยางพันธุ์ดี -สามารถรวมกลุ่มในการขายผลผลิตยางพาราทำให้ขายยางได้ราคาดี -เห็นคุณค่าของขยะ เพิ่มรายได้

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา การควบคุมศัตรูพืช
หลักสูตร ปริญญาตรี
นักศึกษาชั้นปี : 3-4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ และความพึงพอใจในระดับดี ถึงดีมาก มากกว่าร้อยละ 80
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 45,520.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 14,400.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 14,400.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
7,200.00 บาท
2) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
7,200.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 31,120.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 16,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
4,000.00 บาท
2) จำนวน 2 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
4,000.00 บาท
3) จำนวน 2 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
4,000.00 บาท
4) จำนวน 2 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 10 คน
=
4,000.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 15,120.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 6 คน
=
5,040.00 บาท
2) จำนวน 2 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 6 คน
=
5,040.00 บาท
3) จำนวน 2 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 6 คน
=
5,040.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 78,600.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 14,400.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 14,400.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 10 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
4,800.00 บาท
2) จำนวน 2 วัน x จำนวน 10 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
4,800.00 บาท
3) จำนวน 2 วัน x จำนวน 10 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
4,800.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 9,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
3,000.00 บาท
2) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
3,000.00 บาท
3) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
3,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 12,000.00 บาท )
1) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
3,000.00 บาท
2) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
3,000.00 บาท
3) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
3,000.00 บาท
4) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 30 คน
=
3,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 43,200.00 บาท )
1) ค่าเหมาจ่ายจัดประชุมคณะทำงาน (3 ครั้ง * 2000 บาท)
=
6,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาสถานที่ (3 * 2000 บาท)
=
6,000.00 บาท
3) ค่าจ้างแรงงานในพื้นที่
=
3,200.00 บาท
4) ค่าจ้างเหมาทำโรงเรือนเพาะเห็ด
=
15,000.00 บาท
5) ค่าจ้างเหมาจัดทำรายงานสรุป
=
5,000.00 บาท
6) ค่าจ้างเหมาแรงงาน จำนวน 1 ปี
=
8,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 75,880.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 23,000.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
2,000 แผ่น x 0.50 บาท
=
1,000.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
10,000.00 บาท
=
10,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 5,000.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
12,000.00 บาท
=
12,000.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 52,880.00 บาท )
1) ค่าวัสดุการเกษตร (ค่าปุ๋ย,อุปกรณ์การฝึกอบรม, เมล็ดพันธุ์พืช,พันธุ์สัตว์)
=
32,880.00 บาท
2) ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ (สารเคมี)
=
20,000.00 บาท

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 200,000.00 บาท