แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2557
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ โครงการค่ายเกษตรสำหรับเยาวชน
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : เสริมสร้างความเข้มแข็งของการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่เป้าหมาย เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและชุมชน
นโยบาย : บริการวิชการด้านอื่นๆ :
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
นายวันชัย อินทิแสง คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : สัตวศาสตร์
ประสบการณ์ : 17
ความเชี่ยวชาญ : การผลิตดคนม
หัวหน้าโครงการ
นายรักเกียรติ แสนประเสริฐ คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : พืชศาสตร์(ไม้ผล)
ประสบการณ์ : ระบบน้ำเพื่อการเกษตร
ความเชี่ยวชาญ : ขยายพันธุ์พืช การผลิตไม้ผล
ผู้ร่วมโครงการ
นายประพนธ์ บุญเจริญ คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : พืชศาสตร์(การผลิตพืชไร่ )
ประสบการณ์ : 1.การวิจัยด้านการจัดการพืชอาหารสัตว์ แบบยั่งยืน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2.การวิจัยด้านการจัดการพืชอาหารสัตว์ ในสภาพพื้นที่ลุ่มน้ำท่วมขัง 3.การวิจัยด้านเทคนิคการจัดการพืชอาหารสัตว์ ในสภาพแปลงหญ้าผสมถั่วพืชอาหารสัตว์
ความเชี่ยวชาญ : ด้านพืชอาหารสัตว์ และด้านการผลิตข้าว
ผู้ร่วมโครงการ
นายประสิทธิ์ กาญจนา คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : เกษตรศาสตร์ (พืชศาสตร์)
ประสบการณ์ : 1.หัวหน้าโครงการอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตยางพารา 10 ปีทำงานวิจัยทางด้านยางพารา 8 ปีที่ปรึกษานิคมยางพาราในพื้นที่ปฏิรูปที่ดินของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมกรรมการตรวจการจ้างต้นพันธุ์ยางพาราของกรมวิชาการเกษตรกรรมการศูนย์เรียนรู้ยางพาราของสถาบันวิจัยยางกรมวิชาการเกษตรที่ปรึกษาสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางที่ปรึกษากลุ่ม/เครือข่ายยางพาราจังหวัดอุบลราชธานีวิทยากรทางด้านยางพารากรรมการหลักสูตรสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการยาง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลฯและเป็นอาจารย์พิเศษสอนวิชาหลักการผลิตยางธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลฯ 2.หัวหน้าโครงการวิจัยปาล์มน้ำมัน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ความเชี่ยวชาญ : 1.ระบบการผลิตยางพารา 2.ระบบตลาดยางพารา 3.ระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน
ผู้ร่วมโครงการ
นายอินทร์ ศาลางาม คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : เกษตรศาสตร์(สัตวศาสตร์)
ประสบการณ์ : 19 ปี
ความเชี่ยวชาญ : ด้านการผลิตสุกรและสัตว์ปีก
ผู้ร่วมโครงการ
ผศ.ดร.สุภาวดี แก้วระหัน คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : General Plant Science
ประสบการณ์ : ด้านการสอน วิชาปฐพีเบื้องต้น พืชอุตสาหกรรม งานวิจัย อโครงการน้ำทิ้งจากโรงงานก้าวหน้าไก่สดต่อการผลิตข้าว โครงการผลิตข้าวอินทรีย์ โครงการผลิตป๋ยน้ำจากสิ่งเหลือใช้ในครัวเรือน การนำน้ำเสียที่ผ่านการบำบัดแล้วจากโรงงานก้าวหน้าไก่สดมาใช้ประโยชน์ในการเกษตร
ความเชี่ยวชาญ : ธาตุอาหารพืช
ผู้ร่วมโครงการ
นางนิภาพรรณ สิงห์ทองลา คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
สาขา : วท.บ เกษตรศาสตร์
ประสบการณ์ : การทำงานในห้องปฏิบัติการงานอุตสาหกรรมเกษตร
ความเชี่ยวชาญ : การตรวจคุณภาพทางห้องปฏิบัติการ
ผู้ร่วมโครงการ
นางสาวนพมาศ นามแดง คุณวุฒิ : ปริญญาโท
สาขา : วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
ประสบการณ์ : -
ความเชี่ยวชาญ : -
ผู้ร่วมโครงการ

หลักการและเหตุผล
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้เล็งเห็นความสำคัญของการประกอบอาชีพด้านการเกษตร ซึ่งเป็นอาชีพพื้นฐานของประชาชนคนไทย โดยเฉพาะในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แต่เนื่องจากในปัจจุบันการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรได้ถ่ายทอดให้กับกลุ่มเป้าหมายหลายระดับ แต่การกระจายตัวของเทคโนโลยียังไม่แพร่หลายเท่าที่ควร คณะเกษตรศาสตร์จึงพิจารณาเห็นว่าในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรน่าจะมีการปรับเปลี่ยนกลุ่มเป้าหมายมาเป็นนักเรียนในระดับมัธยมต้นและมัธยมปลาย ซึ่งเป็นเยาวชนที่จะมีโอกาสไปเป็นผู้ประกอบการที่เข็มแข็ง และเป็นผู้นำในการถ่ายทอดอาชีพเกษตรได้ดี ดังนั้นเพื่อเป็นการสนับสนุนให้นักเรียนในระดับมัธยมต้นและมัธยมปลายมีโอกาสได้มีการเรียนรู้และฝึกฝนทดลองปฏิบัติการทางด้านการเกษตร และฝึกฝนการอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม คณะเกษตรศาสตร์จึงได้จัดให้มีค่ายเกษตรขึ้นในช่วงภาคฤดูร้อนซึ่งนอกจากจะได้ความรู้ตามที่กล่าวมาแล้ว ยังเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ในช่วงปิดภาคฤดูร้อนอีกด้วย โดยจะเห็นได้จากในปีงบประมาณ 2555 ได้จัดโครงการค่ายเกษตรสำหรับเยาวชน รุ่นที่ 12 มีโรงเรียนมัธยมในเขตบริการของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ส่งนักเรียนเข้าร่วมโครงการจำนวน 108 ราย ผลการวิเคราะห์โครงการเดิมที่เกี่ยวข้อง โครงการค่ายเกษตรสำหรับเยาวชน รุ่นที่ 12 ประจำปีงบประมาณ 2555 เป้าหมายผู้เข้าอบรม 100 คน มีผู้เข้าอบรมทั้งสิ้น 119 คน ซึ่งผู้เข้าอบรมมาจากโรงเรียนซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายของคณะเกษตรศาสตร์มีความพึงใจที่มีระดับมาก และมากที่สุด และต้องการให้จัดโครงการค่ายเกษตรสำหรับเยาวชนอีก เพราะได้รับความรู้และเป็นการแนะแนวทางในการศึกษาต่อของนักเรียนเพื่อเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การเกษตร
2.เพื่อปลูกฝังให้เยาวชนมีทรรศนะคติที่ดีต่อการศึกษาทางด้านเกษตรกรรม และการประกอบอาชีพเป็นเกษตรกร
3.เพื่อฝึกการอยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะ ตลอดจนสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีกับโรงเรียนในเขตบริการ และจังหวัดใกล้เคียง

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
คุณสมบัติของผู้ร่วมโครงการ นักเรียนระดับมัธยมศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช,โรงเรียนนารีนุกุล 2, โรงเรียนตระการพืชผล,โรงเรียนประทุมพิทยาคม, โรงเรียนม่วงสามสิบอัมพวันวิทยา,โรงเรียนเอือดใหญ่พิทยา จังหวัดอุบลราชธานี โรงเรียนปทุมราชวงศา จังหวัดอำนาจเจริญ โรงเรียนขุนหาญวิทยาสรรค์ , โรงเรียนศรีตระกูลวิทยาคม, โรงเรียนราศีไศล , โรงเรียนปรางค์กู่ , โรงเรียนยางชุมน้อย โรงเรียนขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม, โรงเรียนคล้อวังวิทยาคม, โรงเรียนป่าติ้ววิทยาจังหวัดยโสธร โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม จังหวัดร้อยเอ็ด
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
80 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ 2. แผนการดำเนินงาน(ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมการดำเนินงาน) 3. กิจกรรม 2556 2557 รวมเงิน (บาท) ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. แผนงาน 1.ส่งเอกสารประชาสัมพันธ์ 5,000.00 2.รับสมัครผู้เข้าอบรม 5,000.00 3.จัดเตรียมเอกสารวัสดุ 25,000.00 4.จัดฝึกอบรม 207,200.00 5.สรุปผลการดำเนินงาน 3,000.00 แผนเงิน (บอกจำนวนเงินที่มีแผนจะใช้ในแต่ละไตรมาส) 5,000.00 5,000.00 235,200.00 245,200.00

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2556
2557
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ส่งเอกสารประชาสัมพันธ์ - --- --- --- 5,000.00
2.รับสมัครผู้เข้าอบรม --- -- --- 5,000.00
3.จัดเตรียมเอกสารวัสดุ --- -- --- 25,000.00
4.จัดฝึกอบรม --- --- -- --- 218,700.00
5.สรุปผลการดำเนินงาน --- --- -- --- 3,500.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 รวมเวลา 5 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
0 พ.ศ. 543
09.00-12.00(ปฏิบัติการ 3 วัน) พืชอุตสาหกรรม ผศ.ดร.สุภาวดี แก้วระหัน
0 พ.ศ. 543
13.00-16.00(ปฏิบัติการ 3 วัน) การผลิตไข่ไก่ในระบบโรงเรือน นายอินทร์ ศาลางาม
0 พ.ศ. 543
13.00-16.00(ปฏิบัติการ 3 วัน) การจัดตู้ปลาสวยงาม นายชำนาญ แก้วมณี
0 พ.ศ. 543
13.00-16.00(ปฏิบัติการ 3 วัน) การเพาะเห็ดในถุงพลาสติก นายรักเกียรติ แสนประเสริฐ
0 พ.ศ. 543
13.00-16.00(ปฏิบัติการ 3 วัน) เทคโนโลยีการผลิตพืชไร่เศรษฐกิจ นายประพนธ์ บุญเจริญ
0 พ.ศ. 543
13.00-16.00(ปฏิบัติการ 3 วัน) ยางพาราและผลิตภัณฑ์จากยางพารา นายประสิทธิ์ กาญจนา
0 พ.ศ. 543
09.00-12.00(ปฏิบัติการ 3 วัน) การแปรรูปอาหาร นางนิภาพรรณ สิงห์ทองลา
0 พ.ศ. 543
09.00-12.00(ปฏิบัติการ 3 วัน) การตรวจวินิจฉัยดรคสัตว์นำ้ นายศุภกรณ์ สีสันต์
0 พ.ศ. 543
19.00-21.00(ปฏิบัติการ 3 วัน) ระบบบอกตำแหน่งบนพื้นโลก นายวีระพงษ์ บัวเขียว
0 พ.ศ. 543
13.00-16.00(ปฏิบัติการ 3 วัน) การผลิตโคนม นายวันชัย อินทิแสง
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
19.00-21.00(ปฏิบัติการ 3 วัน) การจัดการดินในระบบเกษตรอินทรีย์ นางสาวนพมาศ นามแดง
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
13.00-16.00(ปฏิบัติการ 3 วัน) การปลูกผักแบบไม่ใช้ดิน นายบรรพต คชประชา
26 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
09.00-12.00(ปฏิบัติการ 3 วัน) การผลิตอาหารสัตว์ นายวิชาญ แก้วเลื่อน
30 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
10.00-11.00 แนะนำคณะเกษตรฯ และการศึกษาต่อคณะเกษตรฯ (งานประชาสัมพันธ์) ดร.สุกัญญา คลังสินศิริกุล

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -
ด้านสังคม : ทางสังคม เช่น ประชาชน กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพื้นฐาน สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
100
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
90
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา Presentation of Ag.Information With Computer,พืชอุตสาหกรรม
หลักสูตร วิทยาศาสตร์บัณฑิต (เกษตรศาสตร์)
นักศึกษาชั้นปี :
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 41,100.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 33,300.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 33,300.00 บาท )
1) จำนวน 3 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 300.00 บาท x จำนวน 11 คน
=
29,700.00 บาท
2) จำนวน 3 วัน x จำนวน 2 ชม. x ชม.ละ 300.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
3,600.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 7,800.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 7,800.00 บาท )
1) จำนวน 5 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 5 คน
=
5,000.00 บาท
2) จำนวน 4 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
2,800.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 123,760.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 123,760.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาซักชุดเครื่องนอน (80 ชุด * 100 บาท)
=
8,000.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมานักศึกษาช่วยงาน (8 คน * 1000 บาท)
=
8,000.00 บาท
3) ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสาร (80 เล่ม * 130 บาท)
=
10,400.00 บาท
4) ค่าประกันชีวิต (80 คน * 17 บาท * 1 วัน)
=
1,360.00 บาท
5) ค่าอาหารและเครื่องดื่ม (80 คน * 180 บาท * 5 วัน)
=
72,000.00 บาท
6) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (80 คน * 60 * 5 วัน)
=
24,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 34,540.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 34,540.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
6,000 แผ่น x 0.50 บาท
=
3,000.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
6,040.00 บาท
=
6,040.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
2,000.00 บาท
=
2,000.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
13 คน x 1,500.00 บาท
=
19,500.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
4,000.00 บาท
=
4,000.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 600.00 บาท )
1) ค่าแสตมป์
จำนวน 200 ดวง x ดวงละ 3 บาท
=
600.00 บาท
2) ค่าสาธารณูปโภค
จำนวน 0 บาท
=
0.00 บาท

งบประมาณทั้งสิ้น 200,000.00 บาท