แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2555
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ เทคนิคการเพาะเห็ดเศรษฐกิจ รุ่นที่ 13 และ 14
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมบนฐานวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ดีงาม เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและการพึ่งพาตนเองของชุมชนท้องถิ่น
นโยบาย : โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านอาชีพ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
สาขา : Plant Pathology
ประสบการณ์ : การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี
ความเชี่ยวชาญ : การควบคุมไส้เดืนฝอยรากปมโดยชีววิธี การเพาะเห็ด
หัวหน้าโครงการ

หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันอาชีพการเพาะเห็ดได้รับความสนใจมากขึ้น เนื่องจากเป็นอาชีพที่ทำรายได้ต่อหน่วยพื้นที่ได้สูงและรวดเร็ว ตลาดมีความต้องการสูง เนื่องจากมีรสชาติอร่อยและให้คุณค่าทางโภชนาการ รวมทั้งเป็นสมุนไพรที่สามารถป้องกันรักษาโรคได้หลายชนิด แต่เนื่องจากสภาพทางธรรมชาติที่เคยอุดมสมบูรณ์เหมาะต่อการเกิดและการเจริญเติบโตของเห็ดป่าได้ลดลงอย่างรวดเร็ว จึงส่งผลให้ปริมาณเห็ดลดลงด้วย ซึ่งตรงกันข้ามกับความต้องการบริโภคของประชาชนที่ทวีเพิ่มมากขึ้นเป็นอย่างมาก อนึ่งงานทางด้านการศึกษาการวิจัยการเพาะเห็ดชนิดต่างๆได้มีการพัฒนาเจริญก้าวหน้าขึ้นตามลำดับ จึงทำให้มีเห็ดหลายชนิดๆสามารถเพาะเลี้ยงให้กินดอกได้และกลายเป็นเห็ดเศรษฐกิจที่สำคัญ ที่สามารถทำเป็นอาชีพหลักหรืออาชีพเสริมได้เป็นอย่างดี แต้การเพาะเลี้ยงเห็ดให้ได้ผลผลิตสูงจำเป็นต้องทำทำการศึกษาขั้นพื้นฐานของเห็ดให้เข้าใจเพื่อจะได้ก้าวสู่ความสำเร็จ ศึกษาชีววิทยาของเห็ดที่จะผลิต การวางแผนการผลิต การจัดการในด้านต่างๆ เพื่อลดต้นทุนรวมทั้งข้อมูลข่าวสารจากการศึกษาค้นคว้าการวิจัยและประสบการณ์ที่มีความจำเป็นต่อการนำเนินการอีกมายมาย คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตระหนักถึงความสำคัญที่ต้องมีการให้ความรู้และประสบการณ์แก่ผู้ที่สนใจจะประกอบการกิจการด้านการเพาะเห็ด จึงจัดโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ?เทคนิคการเพาะเห็ดเศรษฐกิจ? ให้เกษตรกรและประชาชนทั่วไป เพื่อสร้างอาชีพและพัฒนาการเพาะเห็ดให้ผู้ประกอบการมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจยกระดับรายได้ให้สูงขึ้น จะทำให้เกษตรกรสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างปกติสุขในสังคม ซึ่งจะส่งผลให้ฐานะความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศชาติที่ดีต่อไปในอนาคต

วัตถุประสงค์
1.1. เพื่อเผยแพร่ความรู้เรื่องการเพาะเห็ดเศรษฐกิจ 2. ส่งเสริมอาชีพให้แก่เกษตรกรและประชาชน

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
รุ่นที่ 13 เกษตรกรและประชาชนทั่วไปในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่สามารถเดินทางไปกลับระหว่างบ้านพักกับสถานที่ฝึกอบรมได้เอง รุ่นที่ 14 เกษตรกรบ้านโหง่นขามและดงนา อ.ศรีเมืองใหม่ จ.อุบลราชธานี
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
70 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ - รับสมัครผู้เข้าอบรมโดยการประชาสัมพันธ์ทางสื่อวิทยุ อินเตอร์เน็ท ฯลฯ ของมหาวิทยาลัย - จัดเตรียมโรงเรือนสาทิต สถานที่ เอกสารและวัสดุประกอบการฝึกอบรม - จัดฝึกอบรมโดยการบรรยายและปฏิบัติการ - สรุปผลการดำเนินงาน

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2554
2555
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ประชาสัมพันธ์ -- --- --- --- 0.00
2.รับสมัครผู้เข้าอบรม -- - --- --- 0.00
3.จัดเตรียมเอกสารวัสดุ -- --- --- 0.00
4.จัดฝึกอบรม -- -- --- --- 0.00
5.สรุปผลการดำเนินงาน -- --- -- --- 0.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2554 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2555 รวมเวลา 4 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
28 ตุลาคม พ.ศ. 2554
08.30-09.00 ลงทะเบียนพร้อมรับเอกสารฝึกอบรม
28 ตุลาคม พ.ศ. 2554
09.00 – 10.30 น. บรรยาย “หลักการเพาะเห็ดในถุงพลาสติก” ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ
28 ตุลาคม พ.ศ. 2554
10.30 – 12.00 น. ปฏิบัติการเตรียมแม่เชื้อเห็ด ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ/นางสาวอรุณรัตน์ อนันตทัศน์
28 ตุลาคม พ.ศ. 2554
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
28 ตุลาคม พ.ศ. 2554
13.00 – 14.30 น. บรรยาย การผลิตหัวเชื้อเห็ด ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ
28 ตุลาคม พ.ศ. 2554
14.30-16.00 น. ปฏิบัติการ แยกเนื้อเยื้อดอกเห็ด ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ/นางสาวอรุณรัตน์ อนันตทัศน์
29 ตุลาคม พ.ศ. 2554
14.30 – 16.00 น. ปฏิบัติการผลิตก้อนเชื้อเห็ด ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ/นายบรรพต คชประชา
29 ตุลาคม พ.ศ. 2554
13.00 – 14.30 น. การดูแลรักษา ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ
29 ตุลาคม พ.ศ. 2554
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
29 ตุลาคม พ.ศ. 2554
10.30 - 12.00 น. ปฏิบัติการเตรียมหัวเชื้อเห็ด ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ/นางสาวอรุณรัตน์ อนันตทัศน์
29 ตุลาคม พ.ศ. 2554
09.00 – 10.30 น. บรรยาย ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ
23 มีนาคม พ.ศ. 2555
14.30-16.00 น. ปฏิบัติการ แยกเนื้อเยื้อดอกเห็ด ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ /นางสาวอรุณรัตน์ อนันตทัศน์
23 มีนาคม พ.ศ. 2555
13.00-14.30 น. บรรยาย การผลิตหัวเชื้อเห็ด ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ
23 มีนาคม พ.ศ. 2555
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
23 มีนาคม พ.ศ. 2555
10.30 – 12.00 น. ปฏิบัติการเตรียมแม่เชื้อเห็ด ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ และ นางสาวอรุณรัตน์ อนันตทัศน์
23 มีนาคม พ.ศ. 2555
09.00 – 10.30 น. บรรยาย “หลักการเพาะเห็ดในถุงพลาสติก” ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ
23 มีนาคม พ.ศ. 2555
08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียนพร้อมรับเอกสารฝึกอบรม รุ่นที่ 14
24 มีนาคม พ.ศ. 2555
09.00-10.30 น. บรรยาย ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ
24 มีนาคม พ.ศ. 2555
10.30-12.00 น. ปฏิบัติการเตรียมหัวเชื้อเห็ด ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ/นางสาวอรุณรัตน์ อนันตทัศน์
24 มีนาคม พ.ศ. 2555
12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
24 มีนาคม พ.ศ. 2555
13.00-14.30 น. การดูแลรักษา ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ
24 มีนาคม พ.ศ. 2555
14.30-16.00 น. ปฏิบัติการผลิตก้อนเชื้อเห็ด ผศ.ดร.ยุวดี ชูประภาวรรณ/นายบรรพต คชประชา

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : -เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพเสริมแก่ผู้ร่วมโครงการ ทำให้สามารถเพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายในครัวเรือน
ด้านสังคม : -เกิดการรวมกลุ่มในชุมชนเพื่อทำกิจกรรมการเพาะเห็ด ทำให้เกิดความคุ้นเคย ความรัก ความสามัคคี ในชุมชน
ด้านสิ่งแวดล้อม : -เป็นนำวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาเพาะเห็ด ทำให้เป็นใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
70
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
สามารถสร้างอาชีพหลักหรืออาชีพเสริมให้แก่ประชาชนทั่วไป วิสาหกิจชุมชน-

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิชา 1202 344 Mushroom Production
หลักสูตร วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร์
นักศึกษาชั้นปี : 3 และ 4
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน นักศึกษาได้รับความรู้เพิ่มขึ้น / สามารถสอบผ่านในรายวิชาร้อยละ 100
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด ร้อยละ 15 ของนักศึกษาที่มีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการ
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 26,160.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 21,600.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 21,600.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
7,200.00 บาท
2) จำนวน 4 วัน x จำนวน 3 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
14,400.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 4,560.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 1,200.00 บาท )
1) จำนวน 3 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
1,200.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 3,360.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 4 คน
=
3,360.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 39,220.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 5,920.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าที่พัก ( รวม 4,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 คืน x จำนวน 1 ห้อง x ห้องละ 1,000.00 บาท
=
4,000.00 บาท
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 1,920.00 บาท )
1) จำนวน 2 วัน x จำนวน 4 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
1,920.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 8,000.00 บาท )
1) จำนวน 8 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 40 คน
=
8,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 12,800.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 40 คน
=
12,800.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 12,500.00 บาท )
1) ค่าจ้างเหมาทำป้าย (3 แผ่น × 500 บาท)
=
1,500.00 บาท
2) ค่าจ้างเหมาทำเอกสารประกอบการฝึกอบรมฯ
=
5,000.00 บาท
3) ค่าจ้างเหมาพาหนะ 4ครั้ง*1500 บาท
=
6,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 8,000.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 8,000.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
2,000 แผ่น x 0.50 บาท
=
1,000.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
3,000.00 บาท
=
3,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
0 คน x 5,000.00 บาท
=
0.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
4,000.00 บาท
=
4,000.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 73,380.00 บาท