แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2558
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพของครูเพื่อการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21ด้วยการวิจัยในชั้นเรียน
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : เสริมสร้างความเข้มแข็งของการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่เป้าหมาย เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและชุมชน
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้แก่เด็ก เยาวชนและชุมชน โดยยึดแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในพื้นที่ทุรกันดาร ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ยังไม่ได้เพิ่มผู้รับผิดชอบโครงการselect * from response_data rd,user_data ud,education ed,user_tname ut,resp_type rt where (rd.user_id=ud.user_id) and (rd.resp_type_id=rt.resp_type_id) and (ud.tname_id=ut.tname_id) and (ud.edu_id=ed.edu_id) and rd.pro_id=930 order by rd.resp_type_id

หลักการและเหตุผล
การวิจัยเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะช่วยให้การพัฒนาการศึกษาประสบความสำเร็จได้เป็นอย่างดี ทั้งการนำกระบวนการวิจัยและผลการวิจัยมาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยเฉพาะการปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยกระบวนการวิจัย เป็นแนวทางหนึ่งที่ครูผู้สอนใช้เป็นแนวทางในการปฏิรูปการเรียนรู้ในชั้นเรียนของตน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนดสาระสำคัญที่มุ่งเน้นให้ครูสามารถทำวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและของผู้เรียน มีการพัฒนาการเรียนการสอนโดยการคิดค้นนวัตกรรมการศึกษา เพื่อแก้ไขปัญหาการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้สถาบันการศึกษาแทบทุกแห่ง จึงได้มีการกำหนดยุทธศาสตร์และมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในชั้นเรียนไว้ดังนี้ ?พัฒนาครูให้สามารถจัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนาตนเองให้พร้อมทันต่อพลวัตรของสังคม? และ ?พัฒนาครูให้สามารถจัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้ทำวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้? อย่างไรก็ตาม จากการสอบถามไปยังโรงเรียนหลายแห่งพบว่า แม้ว่าครูจะตระหนักถึงความสำคัญของการทำวิจัยในชั้นเรียนเนื่องด้วยเป็นปัจจัยในการพัฒนาการศึกษาและการยกระดับวิทยฐานะของครู แต่ครูส่วนใหญ่ไม่ได้ทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างจริงจัง เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจในการทำวิจัย อีกทั้งขาดผู้เชี่ยวชาญที่จะคอยช่วยเหลือและให้คำแนะนำใกล้ชิดอย่างต่อเนื่อง ซึ่งหากปล่อยให้เป็นเช่นนี้ไปเรื่อยๆ ยุทธศาสตร์และมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในชั้นเรียนที่สถาบันการศึกษาได้กำหนดไว้อาจไม่บรรลุเป้าหมาย ส่งผลเสียต่อภาพลักษณ์โดยรวมด้านคุณภาพการศึกษา รวมทั้งการพัฒนาเยาวชนให้พร้อมทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมอาเซียนและสังคมโลกอีกด้วย จากที่กล่าวไปแล้วข้างต้นจะเห็นได้ว่า การทำวิจัยในชั้นเรียนและการนำผลงานการวิจัยในชั้นเรียนมาใช้ประโยชน์เป็นดัชนีสำคัญที่สะท้อนให้เห็นถึงคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้น เพื่อให้ยุทธศาสตร์และมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในชั้นเรียนที่สถาบันการศึกษาได้กำหนดไว้บรรลุเป้าหมาย ผู้วิจัยใคร่ขอเสนอโครงการ ?การอบรมเชิงปฏิบัติการการทำวิจัยในชั้นเรียนสู่การปฏิบัติจริง เพื่อยกระดับคุณภาพทางวิชาการของครู? เพื่อเป็นการเสริมสร้างให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะการทำวิจัยในชั้นเรียน ตลอดจนสามารถสร้างสรรค์งานวิจัยในชั้นเรียนได้อย่างต่อเนื่อง อันจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาการจัดการเรียนรู้บนพื้นฐานการวิจัย มีภาพลักษณ์ที่ดีด้านคุณภาพการศึกษาโดยรวม และมีพัฒนาเยาวชนให้พร้อมทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมอาเซียนและสังคมโลกในลำดับต่อไป

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ครูมีความรู้เกี่ยวกับการทำวิจัยในชั้นเรียนมากขึ้น
2.เพื่อให้ครูมีเจตคติที่ดีต่อการทำวิจัยในชั้นเรียน
3.เพื่อให้ครูทำวิจัยในชั้นเรียนที่เกี่ยวกับการพัฒนาผู้เรียนด้านทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
ครูในกลุ่มโรงเรียนเครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จำนวน 24 โรงเรียน
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
40 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ กิจกรรมจะแบ่งออกเป็น 3 ระยะใหญ่ๆ คือ ระยะที่หนึ่ง ขั้นจัดอบรมความรู้พื้นฐาน กิจกรรมหลักในขั้นตอนนี้ก็คือ จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการทำวิจัยในชั้นเรียน ความรู้พื้นฐาน การเขียนโครงร่างการวิจัย เป็นต้น 1. จัดเตรียมความพร้อมเรื่องเอกสารการอบรมและกำหนดวิทยากรในการอบรม 2. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนครูที่มีความสนใจเข้าร่วมโครงการ 3. เตรียมเอกสารต่างๆ เพื่อประกอบการอบรมตามจำนวนผู้ตอบรับ 4. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเป็นระยะเวลา 2 วัน (ระหว่างเดือนตุลาคม-ธันวาคม พ.ศ.2557) ระยะที่สอง ขั้นติดตามผลการดำเนินการวิจัยในชั้นเรียน กิจกรรมหลักในขั้นตอนนี้ก็คือ ครูดำเนินการวิจัยในชั้นเรียน โดยมีทีมวิทยากรออกติดตามการดำเนินการตามโรงเรียนเป้าหมายอย่างใกล้ชิด ระยะที่สาม ขั้นการนำเสนอผลการวิจัยในชั้นเรียน กิจกรรมหลักในขั้นตอนนี้ก็คือ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย การเขียนรายงาน การนำเสนอผลการวิจัยในรูปแบบต่างๆ เช่น การเขียนบทความ การนเสนอด้วย PowerPoint เป็นต้น

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2557
2558
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.ระยะที่หนึ่ง ขั้นจัดอบรมความรู้พื้นฐาน กิจกรรมหลักในขั้นตอนนี้ก็คือ จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการทำวิจัยในชั้นเรียน ความรู้พื้นฐาน การเขียนเค้า --- --- --- 55,360.00
2.ระยะที่สอง ขั้นติดตามผลการดำเนินการวิจัยในชั้นเรียน กิจกรรมหลักในขั้นตอนนี้ก็คือ ครูดำเนินการวิจัยในชั้นเรียน โดยมีทีมวิทยากรออกติดตามการดำเนินงานอ - --- --- 40,600.00
3.ระยะที่สาม ขั้นการนำเสนอผลการวิจัยในชั้นเรียน กิจกรรมหลักในขั้นตอนนี้ก็คือ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย การเขียนรายงานก --- --- --- 47,900.00
4.ขั้นการนำเสนอผลงานของครูผู้ทำวิจัยในการประชุมวิชาการ ม.อบ.วิจัย ปี 2558 และรายงานผลการวิจัยตลอดโครงการ --- --- --- 61,340.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2557 - 30 กันยายน พ.ศ. 2558 รวมเวลา 365 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
9.00-16.00 ระยะที่หนึ่ง ขั้นจัดอบรมความรู้พื้นฐาน กิจกรรมหลักในขั้นตอนนี้ก็คือ จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกั ดร.สุภาพร พรไตร และคณะ
20 มิถุนายน พ.ศ. 2558
9.00-16.00 ขั้นการนำเสนอผลการวิจัยในชั้นเรียน กิจกรรมหลักในขั้นตอนนี้ก็คือ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการวิเ ดร.สุภาพร พรไตร และคณะ
12 กรกฎาคม พ.ศ. 2558
9.00-16.00 ขั้นการนำเสนอผลงานของครูผู้ทำวิจัยในการประชุมวิชาการ ม.อบ.วิจัย ปี 2558 และรายงานผลการวิจัยตลอดโคร ดร.สุภาพร พรไตร และคณะ

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : ผู้เข้าร่วมโครงการทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 เรื่อง และนำไปสู่การเลื่อนวิทยฐานะ
ด้านสังคม : 1. นักเรียนได้รับผลดีจากการทำวิจัยในชั้นเรียนของครู 2. โรงเรียนได้คะแนนประกันคุณภาพในประเด็นเกี่ยวกับการทำวิจัยในชั้นเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
ด้านสิ่งแวดล้อม : -
ด้านอื่นๆ : -

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
40
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
80
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
ผู้ร่วมโครงการได้งานวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อย 1 เรื่อง

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


แผนการบูรณาการกับการเรียนการสอน
แผนบูรณาการการเรียนการสอน
ลักษณะการบูรณาการ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
วิชา วิชา นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ชีววิทยา (1101761)
หลักสูตร หลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา
นักศึกษาชั้นปี : นักศึกษาชั้นปี : 2
การนำเนื้อหาของการบริการวิชาการเข้าสอดแทรกในสาระวิชาที่ทำการสอน นักศึกษาทุคนใช้เป็นงานวิจัยตัวอย่างเพื่อการวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้
การนำนักศึกษาออกพื้นที่เพื่อร่วมให้บริการวิชาการตามแผนงานที่กำหนด มีนักศึกษาเข้าร่วมอย่างน้อย 5 คน
การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงการจากปัญหาของการให้บริการวิชาการ มีนักศึกษาเข้าร่วมอย่างน้อย 5 คน

การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 83,100.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 36,000.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 7,200.00 บาท )
1) จำนวน 1 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 1,200.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
7,200.00 บาท
-วิทยากรภายใน ( รวม 28,800.00 บาท )
1) จำนวน 4 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 2 คน
=
28,800.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 32,700.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 5,400.00 บาท )
1) จำนวน 27 วัน x จำนวน 4 ชม. x ชม.ละ 50.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
5,400.00 บาท
-วันหยุดราชการ ( รวม 27,300.00 บาท )
1) จำนวน 65 วัน x จำนวน 7 ชม. x ชม.ละ 60.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
27,300.00 บาท

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 14,400.00 บาท )
1) ผู้ช่วยวิทยากรจำนวน 2 คน x จำนวน 24 ชม. x จำนวน 300.00 บาท/ชม.
=
14,400.00 บาท

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 108,800.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 29,600.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 20,000.00 บาท )
1) จำนวน 40 ครั้ง x จำนวน 1 คน x ครั้งละ 500.00 บาท
=
20,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 9,600.00 บาท )
1) จำนวน 40 วัน x จำนวน 1 วัน x วันละ 240.00 บาท
=
9,600.00 บาท

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 12,000.00 บาท )
1) จำนวน 8 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
12,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 19,200.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 80.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
19,200.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 48,000.00 บาท )
1) ค่าเข้าร่วมประชุมม.อบ.วิจัย ปี 2558
=
48,000.00 บาท

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 13,300.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 13,300.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
5,000 แผ่น x 0.50 บาท
=
2,500.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
1,800.00 บาท
=
1,800.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
1,000.00 บาท
=
1,000.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
40 คน x 200.00 บาท
=
8,000.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 205,200.00 บาท