แบบเสนอโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2558
คณะ/สำนัก/หน่วยงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ชื่อโครงการ ต้นกล้านักวิจัยเพื่อการเรียนรู้ที่เข้มแข็งในศตวรรษที่ 21
ลักษณะโครงการ การฝึกอบรม อบรมเชิงปฏิบัติการ
ความสอดคล้องกับมาตรการ / นโยบายของมหาวิทยาลัย
มาตรการ : เสริมสร้างความเข้มแข็งของการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่เป้าหมาย เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและชุมชน
นโยบาย : การให้บริการวิชาการเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้แก่เด็ก เยาวชนและชุมชน โดยยึดแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในพื้นที่ทุรกันดาร ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ
ผู้รับผิดชอบ
ชื่อ - สกุล
คุณวุฒิ
ประสบการณ์
ตำแหน่ง/ความรับผิดชอบในโครงการ
ยังไม่ได้เพิ่มผู้รับผิดชอบโครงการselect * from response_data rd,user_data ud,education ed,user_tname ut,resp_type rt where (rd.user_id=ud.user_id) and (rd.resp_type_id=rt.resp_type_id) and (ud.tname_id=ut.tname_id) and (ud.edu_id=ed.edu_id) and rd.pro_id=938 order by rd.resp_type_id

หลักการและเหตุผล
ในโลกปัจจุบันที่เต็มล้นไปด้วยข้อมูลข่าวสารมากมายที่เข้าถึงได้ง่าย เยาวชนไทยจำเป็นต้องพัฒนากระบวนการคิด เพื่อเป็นภูมิต้านทานต่อการรับข้อมูลจำนวนมาก การคิดอย่างมีวิจารณญาณ คือ ภูมิต้านทานที่ช่วยให้ใช้ชีวิตอยู่กับข้อมูลข่าวสารอย่างรู้เท่าทัน การศึกษาไทยจึงต้องเปลี่ยนการสอนเป็นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ ครูต้องเปลี่ยนตัวเองจากผู้สอนมาเป็นผู้จัดการช่วยเหลือให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ นักเรียนต้องเปลี่ยนตัวเองจากผู้รอรับความรู้มาเป็นผู้สร้างความรู้ให้ตนเอง และการศึกษาต้องเปลี่ยนจากการให้ความรู้มาเป็นการพัฒนากระบวนการคิด เปลี่ยนจากการใช้การจดจำเป็นความเข้าใจจากการลงมือปฏิบัติเอง การทำโครงงานบนฐานวิจัย (Research-Based Learning: RBL) เกิดจากการคิดค้นของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยที่ได้พิสูจน์แล้วว่า กระบวนการวิจัยเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่สามารถสร้างระบบคิดและทักษะการเรียนรู้ใหม่ พร้อมไปกับการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมของนักวิจัยที่ดีได้อย่างทรงพลัง โดยเน้นการสร้างโจทย์วิจัยจากการทำโครงงาน ที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติการค้นหาคำตอบจริง เป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์ปฏิบัติ (Learning by Doing) ที่ช่วยให้นักเรียนเรียนรู้จากนอกห้องเรียนโดยนำกระบวนการวิจัยและหลักการวิทยาศาสตร์มากำกับการทำโครงงาน ทำให้นักเรียนได้พัฒนาความคิดเชิงวิเคราะห์และสังเคราะห์ไปจนถึง การคิดได้อย่างมีวิจารญาณ อันเป็นคุณสมบัติที่สำคัญสำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ด้วยเหตุนี้ผู้รับผิดชอบโครงการจึงมีความประสงค์จะถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการแก่นักเรียน โดยการบ่มเพาะนักเรียนเหล่านั้นด้วยการเรียนรู้โดยผ่านการทำโครงงานบนฐานวิจัย เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความเข้มแข็งทางปัญญา และสามารถใช้กระบวนการวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ตลอดชีวิตต่อไป

วัตถุประสงค์
1.เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21

กลุ่มเป้าหมาย
คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในกลุ่มโรงเรียนพันธมิตรจำนวน 2 ห้องเรียน
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
80 คน

การดำเนินโครงการ (ขั้นตอนหรือวิธีการดำเนินงานโครงการฯ)
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ
1. กิจกรรมและวิธีดำเนินการ 1.อบรมเชิงปฏิบัติการจิตตปัญญาศึกษา การคิดเชิงเหตุผล การสร้างโจทย์วิจัย เป็นระยะเวลา 2 วันต่อ 1 โรงเรียน รวมทั้งสิ้น 4 วัน โดยจัดที่โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ฝึกการสร้างโจทย์วิจัยจากประเด็นหลัก และประเด็นย่อย ความเชื่อมโยงของเหตุและผลในทางวิทยาศาสตร์ 2.อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนเค้าโครงการวิจัย เป็นระยะเวลา 2 วันต่อ 1 โรงเรียน รวมทั้งสิ้น 4 วัน โดยจัดที่โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ฝึกปฏิบัติการเขียนเค้าโครงการวิจัยในหัวข้อที่สนใจ สืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล พร้อมทั้งวิพากษ์ข้อเสนองานวิจัย 3.ติดตามความก้าวหน้าในการทำวิจัย ให้ข้อเสนอแนะเพื่อการดำเนินงานที่ราบรื่นขึ้น 4.อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานการวิจัย และการนำเสนองานวิจัย

2. แผนการดำเนินงาน (ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมดำเนินงาน)
กิจกรรม
2557
2558
รวมเงิน (บาท)
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
ไตรมาสที่ 4
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.1.อบรมเชิงปฏิบัติการจิตตปัญญาศึกษา การคิดเชิงเหตุผล การสร้างโจทย์วิจัย --- --- --- 55,600.00
2.2.อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนเค้าโครงการวิจัย --- --- --- 51,600.00
3.3.ติดตามความก้าวหน้าในการทำวิจัย --- --- --- 39,400.00
4.4.อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานการวิจัย และการนำเสนองานวิจัย --- --- --- 71,000.00

ระยะเวลาการดำเนินการ
ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2557 - 30 กันยายน พ.ศ. 2558 รวมเวลา 365 วัน

ร่างกำหนดการดำเนินงาน
วัน/เดือน/ปี
เวลา
กิจกรรม / หัวข้อ
วิทยากร
20 ธันวาคม พ.ศ. 2557
9.00-16.00 1.อบรมเชิงปฏิบัติการจิตตปัญญาศึกษา การคิดเชิงเหตุผล การสร้างโจทย์วิจัย ดร.สุภาพร พรไตร และคณะ
14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
9.00-16.00 2.อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนเค้าโครงการวิจัย ดร.สุภาพร พรไตร และคณะ
18 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
9.00-16.00 3.ติดตามความก้าวหน้าในการทำวิจัย ดร.สุภาพร พรไตร และคณะ
22 สิงหาคม พ.ศ. 2558
9.00-16.00 4.อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานการวิจัย และการนำเสนองานวิจัย ดร.สุภาพร พรไตร และคณะ

ผลที่คาดว่าจะได้รับในการดำเนินโครงการฯ
ด้านเศรษฐกิจ : นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีผลงานวิจัยที่สามารถเข้าประกวดในระดับเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งระดับที่สูงกว่า
ด้านสังคม : นักเรียนมีหลักการคิดที่เป็นเหตุเป็นผล ไม่เชื่องมงาย
ด้านสิ่งแวดล้อม :
ด้านอื่นๆ :

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ตัวชี้วัด
หน่วย
ค่าเป้าหมาย
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
คน
80
ความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ
ร้อยละ
80
ผู้ร่วมโครงการที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ร้อยละ
100
ระดับความรู้ที่เพิ่มขึ้นหลังจากร่วมโครงการ
มากกว่าหรือเท่ากับ 1
ความคุ้มค่าของงบประมาณต่อผู้ร่วมโครงการ
ผู้เข้าร่วมโครงการได้สร้างสรรค์งานวิจัยอย่างน้อย 1 เรื่อง

ตัวชี้วัดด้านประกันคุณภาพ
แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ
การใช้ประโยชน์ในการพัฒนานักศึกษา


การใช้ประโยชน์กับชุมชนหรือสังคม


-
การติดตามและประเมินผล
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานทุก 3 เดือน ให้คณะ และมหาวิทยาลัยทราบ ตามระบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด

การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
- ส่งรายงานผลการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ให้กับคณะและมหาวิทยาลัย จำนวน 1 ฉบับ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ
- ส่งรายงานทางการเงินให้กับคณะและมหาวิทยาลัย ภายใน 45 วัน นับจากวันที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จ

รายละเอียดงบประมาณ
หมวดที่ 1 หมวดค่าตอบแทน ( รวม 102,600.00 บาท )
หัวข้อ 1.1 หมวดค่าตอบแทนวิทยากร ( รวม 68,400.00 บาท )
-วิทยากรภายนอก ( รวม 0.00 บาท )
-วิทยากรภายใน ( รวม 68,400.00 บาท )
1) จำนวน 19 วัน x จำนวน 6 ชม. x ชม.ละ 600.00 บาท x จำนวน 1 คน
=
68,400.00 บาท

หัวข้อ 1.2 ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันเวลาราชการ ( รวม 0.00 บาท )
-วันหยุดราชการ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 1.3 ค่าตอบแทนอื่นๆ ( รวม 34,200.00 บาท )
1) ผู้ช่วยวิทยากรจำนวน 1 คน x จำนวน 114 ชม. x จำนวน 300.00 บาท/ชม.
=
34,200.00 บาท

หมวดที่ 2 หมวดค่าใช้สอย ( รวม 94,000.00 บาท )
หัวข้อ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ( รวม 12,000.00 บาท )
-ค่ายานพาหนะ ( รวม 12,000.00 บาท )
1) จำนวน 20 ครั้ง x จำนวน 1 คน x ครั้งละ 600.00 บาท
=
12,000.00 บาท
-ค่าที่พัก ( รวม 0.00 บาท )
-ค่าเบี้ยเลี้ยง ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( รวม 41,000.00 บาท )
1) จำนวน 8 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
12,000.00 บาท
2) จำนวน 8 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
12,000.00 บาท
3) จำนวน 8 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
12,000.00 บาท
4) จำนวน 2 มื้อ x มื้อละ 25.00 บาท x จำนวน 100 คน
=
5,000.00 บาท

หัวข้อ 2.3 ค่าอาหารกลางวัน/อาหารเย็น ( รวม 41,000.00 บาท )
1) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
12,000.00 บาท
2) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
12,000.00 บาท
3) จำนวน 4 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 60 คน
=
12,000.00 บาท
4) จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 50.00 บาท x จำนวน 100 คน
=
5,000.00 บาท

หัวข้อ 2.4 ค่าจ้างเหมารถตู้ ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.5 ค่าจ้างเหมาปฏิบัติงาน ( รวม 0.00 บาท )

หัวข้อ 2.6 ค่าใช้สอยอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 3 หมวดค่าวัสดุ ( รวม 21,000.00 บาท )
หัวข้อ 3.1 ค่าวัสดุทั่วไป ( รวม 21,000.00 บาท )
1) ค่าถ่ายเอกสาร
4,000 แผ่น x 0.50 บาท
=
2,000.00 บาท
2) ค่าวัสดุสำนักงาน (ตามจริง)
2,000.00 บาท
=
2,000.00 บาท
3) ค่าวัสดุโฆษณาประชาสัมพันธ์ (ตามจริง)
5,000.00 บาท
=
5,000.00 บาท
4) ค่าวัสดุฝึก
80 คน x 150.00 บาท
=
12,000.00 บาท
5) ค่าวัสดุเชื้อเพลิง (ตามจริง)
0.00 บาท
=
0.00 บาท

หัวข้อ 3.2 ค่าวัสดุอื่นๆ ( รวม 0.00 บาท )

หมวดที่ 4 หมวดค่าสาธารณูปโภค ( รวม 0.00 บาท )

งบประมาณทั้งสิ้น 217,600.00 บาท